Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกาหนด (Preterm Labor) - Coggle Diagram
ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกาหนด (Preterm Labor)
ภาวะเจ็บครรภ์คลอดที่เกิดในช่วงอายุครรภ์ก่อน 37 สัปดาห์ โดยมีการหดรัดตัวของมดลูกอย่างสม่้าเสมอ 4 ครั งใน 20 นาที หรือ 8 ครั ง ใน 1 ชั่วโมง ร่วมกับมีการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก โดยมีการเพิ่มขยายของปากมดลูกมากกว่า 1 เซนติเมตร หรือปากมดลูกมีความบางตัวตั งแต่ร้อยละ 80 ขึ นไป
ปัจจัยเสี่ยงต่อภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกาหนด
ปัจจัยทางด้านพันธุกรรม เช่น มีประวัติคลอดทารกก่อนก้าหนดในครอบครัว
เศรษฐานะต่่ำ
ครรภ์แรก
ภาวะทุพโภชนาการ
สูบบุหรี่และสารเสพติด เช่น โคเคน เฮโรอีน เป็นต้น
ท้างานหนัก
สาเหตุของการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกาหนด
ภาวะเจ็บครรภ์คลอดจะมีการหลั่งสารคอร์ติซอล (cortisol) ออกมาจากต่อมหมวกไตของสตรีตั งครรภ์และทารก ส่งผลให้รกสร้างสาร prostaglandin มากขึ น คอร์ติซอลจะไปกระตุ้นเนื อรกให้สร้างสาร corticotropin releasing hormone (CRH) ซึ่งไปกระตุ้นต่อมหมวกไตให้สร้างสาร prostaglandin มากขึ น ท้าให้เกิดภาวะเจ็บครรภ์คลอด ซึ่งการคลอดก่อนก้าหนดน่าจะมีสาเหตุจากการกระตุ้น hypothalamic-pituitary-adrenal axis ของสตรีตั งครรภ์หรือทารกก่อนก้าหนด ซึ่งอาจเกิดจากการติดเชื อ มดลูกได้รับอุบัติเหตุ หรือมีเลือดออกบริเวณเนื อรก
การทำนายการเกิดภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกาหนด
การประเมินสภาพปากมดลูก
การตรวจสารชีวเคมี fetal fibronectin
ผลกระทบต่อมารดา
จะไม่มีผลต่อร่างกายมารดา เนื่องจากทารกที่คลอดก่อนก้าหนดจะมีน้าหนักตัวน้อย จึงท้าให้คลอดได้ง่าย ช่องคลอดบาดเจ็บน้อย แผลหายเร็ว แต่จะมีปัญหาด้านจิตใจ มารดาจะมีความเครียดสูง กลัวเลี ยงทารกไม่รอด กลัวทารกไม่แข็งแรงสมบูรณ์ กังวลว่าทารกต้องรักษาตัวใน รพ. นาน และกังวลเรื่องค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา ซึ่งหากมารดาเครียดมาก อาจท้าให้เกิดภาวะซึมเศร้าหลังคลอด รับประทานอาหารได้น้อยลง ไม่ดูแลตัวเอง นอกจากนี การที่ทารกมีอายุครรภ์น้อย มารดาก็ไม่สามารถให้นมบุตรได้เอง จึงส่งผลให้การสร้างน้านมลดลง เป็นต้น ส่วนผลกระทบต่อการตั งครรภ์ครั งต่อไป คือ มารดาจะมีโอกาสคลอดก่อนก้าหนดได้สูงขึ นกว่าคนทั่วไป
ผลกระทบต่อทารก
ภาวะปอดไม่สมบูรณ์ (Respiratory distress syndrome)
ภาวะเลือดออกในสมองอย่างเฉียบพลัน (Intraventricular hemorrhage)
ภาวะลำไส้อักเสบเน่าตาย (Necrotizing enterocolitis)
การติดเชื้อ
น้าหนักตัวน้อย
พัฒนาการช้า
ภาวะโรคปอดเรื้อรัง
เสี่ยงต่อการเสียชีวิต
การรักษา
กรณีอายุครรภ์ระหว่าง 24-34 สัปดาห์
รับไว้ในโรงพยาบาล
ให้นอนพักบนเตียง
ให้สารน้าอย่างเพียงพอ
ตรวจหาสาเหตุ ตรวจนับเม็ดเลือด ตรวจปัสสาวะ ตรวจอัลตราซาวนด์เพื่อค้นหาความพิการของทารกและน้าหนักตัวโดยประมาณ
ยับยั งการเจ็บครรภ์คลอดหรือการหดรัดตัวของมดลูก โดยให้ยา Nifedipine หรือ Indomethacin และล้าดับรองลงมาคือ Terbutaline ในกรณีเจ็บครรภ์คลอดก่อนก้าหนดที่มีความสัมพันธ์กับปริมาณน้าคร่้ามากจะยับยั งด้วย Indomethaci พร้อมกับตรวจติดตาม ductus arteriosus เป็นระยะ ๆ ถ้ายับยั งด้วยยาตัวแรกไม่ได้ผล แพทย์อาจเลือกใช้ยาตัวต่อไป (จะไม่ใช้ร่วมกัน) หากยับยั งการเจ็บครรภ์คลอดได้ส้าเร็จ แพทย์อาจให้ยาฉีดเข้าใต้ผิวหนัง 0.25 มิลลิกรัม ทุก 6 ชั่วโมง อีก 3 วัน แล้วเปลี่ยนเป็นแบบรับประทานวันละ 15-20 มก. จนกระทั่งคุณแม่ถึงอายุครรภ์ที่ 36 สัปดาห์
กรณีอายุครรภ์มากกว่า 34 สัปดาห์
แพทย์จะไม่ยับยั งการเจ็บครรภ์คลอดหรืออาจยับยั งการเจ็บครรภ์คลอด และไม่ให้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์
การป้องกันภาวะคลอดก่อนกาหนด
การพักผ่อน (bed rest)
การให้ยาป้องกันการหดรัดตัวของมดลูก
การเพิ่มระดับมาตรฐานการดูแลในช่วงฝากครรภ์ เช่น การให้ความรู้มารดาเรื่องการเจ็บครรภ์คลอด การนัดมาฝากครรภ์ทุกสัปดาห์ในช่วงอายุครรภ์ 20-24 สัปดาห์ ไม่ช่วยป้องกันภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนก้าหนด
หลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติด และแอลกอฮอล์