Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Premature rupture of membranes: PROM และ Preterm premature rupture of…
Premature rupture of membranes: PROM และ Preterm premature rupture of membranes: PPROM
ถุงน้ำคร่ำ (Amniotic sac) จะมีของเหลวที่เรียกว่า น้ำคร่ำ (Amniotic fluid) อยู่ข้างในลักษณะถุงคล้ายลูกโป่งใส่น้ำ และมีทารกอยู่ในถุงลูกโป่ง ถุงน้ำคร่ำทำหน้าที่ห่อหุ้มทารกในครรภ์ไม่ให้ได้รับอันตรายจากการกระทบกระแทก ป้องกันไม่ให้สายสะดือถูกกดทับ ในภาวะปกติถุงน้ำคร่ำจะแตกเมื่อใกล้จะคลอด หลังจากมีอาการเจ็บครรภ์คลอดแล้ว ดังนั้นการที่มีถุงน้ำคร่ำแตกก่อนที่มีอาการเจ็บครรภ์จริง (เจ็บครรภ์สม่ำเสมออย่างน้อย 1 ครั้ง ใน 10 นาทีและมีการเปิดขยายของปากมดลูก) และอายุครรภ์มากกว่าหรือเท่ากับ 37 สัปดาห์ จึงเรียกว่า ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเจ็บครรภ์คลอด (Premature rupture of membranes: PROM) เรียกสั้น ๆ ว่า “มีน้ำเดิน”
ปัจจัยเสี่ยง
การติดเชื้อในโพรงมดลูกและช่องคลอด
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
มดลูกมีความตึงตัวมากกว่าปกติ เช่น ครรภ์แฝด น้ำคร่ำมากผิดปกติ
มีประวัติถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนดในครรภ์ก่อน
มีประวัติคลอดก่อนกำหนด
ปากมดลูกสั้นในช่วงไตรมาสที่ 2
มีเลือดออกในช่วงไตรมาสที่ 2-3
Pulmonary disease
การวินิจฉัย
ซักประวัติจากสตรีตั้งครรภ์
มีน้ำใสๆ ไหลออกจากช่องคลอด ซึ่งต้องแยกจากสาเหตุอื่น ๆ เช่น ปัสสาวะเล็ด ตกขาว
การตรวจภายใน
กรณี PROM สามารถใช้มือ PV ได้ แต่กรณี PPROM ห้ามใช้มือ ควรใช้ Vaginal speculum เท่านัั้นเพื่อดูลักษณะว่าเป็นน้ำคร่ำ, ตกขาว, Normal urine, Mucous bloody show, Hydrorhea gravidarum หรือช่องคลอดอักเสบ ถ้าน้ำเดินจริง เมื่อ PV พบน้ำ ขังเปียกชื้นบริเวณแอ่งช่องคลอด ถ้าให้ไอหรือเบ่งหรือกดยอดมดลูกจะมีน้ำไหลออกมา ไม่เห็นถุง น้ำคร่ำหุ้มทารก
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Nitrazine paper test : ใช้กระดาษ nitrazine แตะสิ่งคัดหลั่งบริเวณช่องคลอดเพื่อทดสอบกรด-ด่างของช่องคลอด (Normal pH 4.5 - 6 และ pH น้าคร่้า 7 - 7.5) Nitrazine จะเปลี่ยนสี
Fern test (Arborization) : เอาของเหลวที่ขังในแอ่งช่องคลอดไปป้ายสไลด์ทิ งไว้ให้แห้ง ถ้าน้าคร่้าแตกออกมาแล้ว จะเห็นผลึกรูปใบเฟิร์นเพราะในน้าคร่้ามี NaCl
Nile blue sulfate test : เอาของเหลวในแอ่งช่องคลอดไปหยดผสมกับ 0.1 % Nile blue sulfate 1 หยด ปิดด้วย Cover slip ส่องดูใน 5 นาที ถ้าน้าคร่้าแตกแล้วจะเห็น Sebaceous gland ติดสีแสด (มาจากทารก)
ตรวจหา Placental alpha microglobulin-1 protein (Amnisure) ดีแต่แพงมาก, IGF-1 binding protein ที่มีปริมารสูงในน้าคร่้า ซึ่งไม่ค่อยนิยมท้ากัน
การตรวจเลือด CBC และ UA เพื่อหาสาเหตุการติดเชื้อ
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง เพื่อวัดปริมาณน้าคร่้า กรณีที่ถุงน้าคร่้าแตกหรือรั่วเป็นระยะเวลานานจะท้าให้ปริมาณน้าคร่้าน้องลง ซึ่งอาจเกิด Oligohydramnios ได้
ภาวะแทรกซ้อนของการมีภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
การติดเชื้อในโพรงมดลูก (Chorioamnionitis)
ภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด (Abruptioplacenta)
ภาวะสายสะดือโผล่ย้อย (Prolap cord)
ทารกในครรภ์เสียชีวิตจากหลอดเลือดสายสะดือฉีกขาด ท้าให้มารดาเสียเลือดในการคลอดมาก ขึ น รวมทั งการเสียเลือดมากขึ นของทารก
มารดามีโอกาสถูกผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องเพิ่มมากขึ้น
ปอดทารกไม่ขยาย ทารกจึงมีโอกาสมีปัญหาทางการหายใจ และ/หรือปอดติดเชื้อได้ง่ายภายหลังคลอด (Atelectasis)
แนวทางในการดูแลรักษา
หากมีการติดเชื้อในโพรงมดลูก จะมีไข้ กดเจ็บที่ตัวมดลูก น้าคร่้ามีกลิ่นเหม็น จะต้องกระตุ้นให้คลอด โดยที่ไม่สนใจถึงอายุครรภ์ เนื่องจากมีอันตรายจากการติดเชื อทั งของมารดาและของทารกมากกว่า
หากไม่มีการติดเชื อ และอายุครรภ์น้อยกว่า 34 สัปดาห์ ไม่มีอาการเจ็บครรภ์ จะให้นอนพัก
สังเกตอาการในโรงพยาบาล มีการตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะ หาแหล่งการติดเชื อ จะมีการตรวจสัญญาณชีพมารดา อัตราการเต้นของหัวใจทารก และตรวจเลือดเป็นระยะๆ เพื่อเฝ้าระวังการติดเชื อ แพทย์จะฉีดยากระตุ้นความสมบูรณ์ของปอดทารกทุก 12 ชั่ว โมง รวม 4 ครั ง มีการให้ยาปฎิชีวนะ ป้องกันการติดเชื อ 1 สัปดาห์ ซึ่งหากเกิดการเจ็บครรภ์ระหว่างนี แพทย์จะให้ยายับยั งการหดรัดตัวของมดลูก
หากไม่มีการติดเชื อและอายุครรภ์ ตั งแต่ 34 สัปดาห์ ไม่มีความจ้าเป็นต้องฉีดยากระตุ้นความ
สมบูรณ์ของปอดทารก และจะให้ยาปฎิชีวนะป้องกันการติดเชื อระหว่างการคลอดด้วย สถานพยาบาลส่วนใหญ่จะกระตุ้นคลอดเมื่ออายุครรภ์ครบ 37 สัปดาห์ในกรณีที่ไม่มีกุมารแพทย์ หรือเครื่องมือเพียงพอที่จะดูแลทารกคลอดก่อนก้าหนด และอาจมีการให้ยาปฎิชีวนะ ป้องกันการติดเชื อ ประมาณ 1 สัปดาห์ อัตราซาว์เพื่อประเมินปริมาณน้าคร่้าและภาวะรกลอกตัวก่อนก้าหนดและเฝ้าสังเกตอาการต่อจนอายุครรภ์ครบ 37 สัปดาห์
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
แนะน้าหลีกเลี่ยงอุบัติเหตุต่างๆ เช่น การเดินทางที่ไม่จ้าเป็น หรือการถูกกระทบกระแทกโดย เฉพาะบริเวณท้อง
แนะน้าหลีกเลี่ยงการทำงานที่หนักเกินไป
รับประทานอาหารมีประโยชน์ 5 หมู่ในปริมาณที่เหมาะสมให้ครบถ้วนในทุกวัน
รักษาและควบคุมการติดเชื้อในช่องคลอด
แนะนำทำความสะอาดร่างกายลดการติดเชื้อ หมั่นดูแลรักษาฟันไม่ให้ฟันผุ เพราะมีรายงานว่า การมีฟันผุ ทำให้เกิดการติดเชื้อที่มีความสัมพันธ์กับการที่ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเจ็บครรภ์คลอด
กรณีอายุครรภ์ยังไม่ครบกำหนด งดการตรวจภายในหากจ้าเป็นควรใช้ sterile vaginal speculum
ขณะนอน รพ. แนะให้มารดาใส่ผ้าอนามัย และเปลี่ยนผ้าอนามัยทุก 2-3 ชม. หรือเมื่อ ผ้าอนามัยชุ่ม เพื่อลดการติดเชื อ
หากถุงน้ำคร่่ำแตกก่อนเจ็บครรภ์ในอายุครรภ์ที่น้อยกว่า 37 สัปดาห์ เรียกกว่า ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนเจ็บครรภ์คลอดก่อนก้าหนด (Preterm premature rupture of membranes: PPROM)