Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปบทที่ 2 นวัตกรรมการศึกษา - Coggle Diagram
สรุปบทที่ 2
นวัตกรรมการศึกษา
หัวข้อที่ 2.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนวัตกรรมการศึกษา
หลักเกณฑ์ในการพิจารณานวัตกรรม
2.3 เป็นแนวคิดเดิม วิธีเดิม หรือสิ่งเดิม ที่ถูกพัฒนาปรับปรุง เปลี่ยนแปลง
2.4 เป็นแนวคิด วิธีการ หรือสิ่งที่ยังไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของระบบงานในปัจจุบัน
2.2 เป็นแนวคิดเดิม วิธีการเดิม หรือสิ่งเดิมจากที่อื่น แล้วนำมาใช้กับสภาพการณ์ใหม่
2.5 เป็นแนวคิด วิธีการ หรือสิ่งที่อยู่ในระหว่างการวิจัยหรือพิสูจน์ด้วยการวิจัยแล้ว
2.1 เป็นแนวคิดใหม่ วิธีการใหม่ หรือสิ่งใหม่ ที่ไม่เคยใช้มาก่อน
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา
3.2 แบ่งตามประเภทของผู้ใช้
3.2.1 นวัตกรรมที่เป็นสื่อสำหรับครู
3.2.2 นวัตกรรมที่เป็นสื่อสําหรับผู้เรียน
3.2.3 นวัตกรรมเพื่อการบริหารในการพัฒนาครูและผู้เรียน
3.3 แบ่งตามขอบเขตการจัดการศึกษา
3.3.1 นวัตกรรมด้านหลักสูตร
3.3.2 นวัตกรรมการเรียนการสอน
3.3.3 นวัตกรรมสื่อการสอนและเทคโนโลยีการศึกษา
3.3.4 นวัตกรรมทางด้านการประเมินผล
3.3.5 นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารสนเทศมาช่วยการบริหารจัดการ
3.1 แบ่งตามลักษณะของนวัตกรรม
3.1.1 นวัตกรรมประเภทวัสดุอุปกรณ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
3.1.2 นวัตกรรมประเภทเทคนิคและวิธีการ
ความหมายและความสำคัญของนวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรมการศึกษา หมายถึง แนวคิด วิธีการ เครื่องมือหรือสื่อ กระบวนการ ตลอดจนสิ่งประดิษฐ์ที่สร้างขึ้นใหม่
หัวข้อที่ 2.2 นวัตกรรมประเภทวัสดุอุปกรณ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
สื่อประสม
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
สื่อหลายมิติ
หน่วยความรู้เฉพาะเรื่อง
สื่ออุปกรณ์เทบเล็ท
ระบบการเรียน e-Learning
บทเรียนสำเร็จรูป
การเรียนรู้ผ่านเกม
บทเรียนการ์ตูนและบทเรียนนิทาน
ความเป็นจริงเสมือน
หัวข้อที่ 2.5 การพัฒนานวัตกรรมเพื่อการเรียนการสอน
การออกแบบการใช้นวัตกรรมและสื่อต่างๆ
ออกแบบสื่อนวัตกรรม
สร้างสื่อนวัตกรรม
วางแผนการสอนและจัดทำแผนการสอน
เลือกนวัตกรรมนำมาใช้เป็นวิธีการแก้ปัญหา
ทดสอบประสิทธิภาพของสื่อนวัตกรรมที่ผลิตขึ้น
สืบค้นนวัตกรรมและสื่อต่างๆ
หัวข้อที่ 2.3 นวัตกรรมประเภทเทคนิคและวิธีการ
การเรียนรู้ที่ใช้ปัญหาเป็นหลัก
ขั้นตอน
3.3 ผู้เรียนดำเนินการศึกษาค้นคว้า
3.4 ผู้เรียนสังเคราะห์ความรู้
3.2 ผู้เรียนทำความเข้าใจกับปัญหา
3.5 สรุปและประเมินค่าของคำตอบ
3.1 ครูกำหนดปัญหาหรือสถานการณ์ต่าง ๆ
3.6 ผู้เรียนนําข้อความรู้ที่ได้มาจัดระบบองค์ความรู้
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
แบ่งได้ 3 ประเภท
5.1 กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมืออย่างไม่เป็นทางการ
5.2 กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมืออย่างเป็นทางการ
5.3 กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมืออย่างถาวร
การเรียนรู้แบบต่อบทเรียน
ขั้นตอน
การศึกษาเนื้อหาสาระ
การทดสอบ
การจัดกลุ่ม
การคิดคะแนน
ระบบการให้รางวัล
การเรียนรู้แบบอุปนัย
ขั้นตอน
4.2 ขั้นเปรียบเทียบ
4.3 ขั้นกฎเกณฑ์
4.1 ขั้นเสนอตัวอย่าง
4.4 ขั้นนำไปใช้
การเรียนรู้แบบศูนย์การเรียน
ขั้นตอน
1.2 ครูแบ่งกลุ่มผู้เรียนตามจำนวนศูนย์
1.1 ครูเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในแต่ละศูนย์
1.3 ผู้เรียนทำกิจกรรมตามศูนย์หรือฐานการเรียนต่างๆ
1.4 ครูตั้งคำถามให้ผู้เรียนสะท้อนความรู้สึกและบทเรียนที่ได้รับ
การใช้แบบทดสอบวินิจฉัย
เป็นแบบทดสอบที่ใช้ค้นหาข้อบกพร่องของผู้เรียนเป็นรายบุคคล
การสอนแบบหน่วย
เป็นวิธีการสอนที่นำเนื้อหาหลายวิชามาสัมพันธ์กัน ยึดจุดมุ่งหมายของบทเรียนที่เรียกว่า หน่วย
การเรียนรู้แบบ Story line
จะมีการผูกเรื่องแต่ละตอนให้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง และเรียงลำดับเหตุการณ์
การสอนแบบบริษัทจำลอง
เป็นนวัตกรรมในลักษณะที่ให้นักเรียนจัดทำโครงการหรือโครงงาน
การเรียนรู้แบบโครงงาน
ขั้นตอน
การเตรียมความพร้อม
คิดและเลือกหัวข้อ
เขียนเค้าโครง
ปฏิบัติโครงงาน
นำเสนอโครงงาน
ประเมินผลโครงงาน
หัวข้อที่ 2.4 การเลือกใช้นวัตกรรมที่เหมาะสมกับช่วงชั้น / อายุของผู้เรียน
ช่วงชั้นที่ 2 อายุของผู้เรียน 9-11 ปี
ได้แก่
เน้นสื่อที่ใช้เวลาไม่มากนัก ใช้ภาษาง่ายๆ
บทเรียนการ์ตูนที่มีการผจญภัย ตัวนําเรื่องเป็นเจ้าชายเจ้าหญิง
นิทานมีภาพประกอบ ตัวอักษรมากกว่าผู้เรียนช่วงชั้นที่ 1
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่มีตัวนําเป็นดารา คนดัง
ช่วงชั้นที่ 3 อายุของผู้เรียน 12-14 ปี
ได้แก่
หนังสืออ่านเพิ่มเติมที่มีตัวนำเรื่องวัยเดียวกับตน
บทเรียนสําเร็จรูป
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่มีตัวนำเรื่องวัยเดียวกับตน
การ์ตูนที่มีการผจญภัยมีภาพประกอบ
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เกมสร้างสรรค์ แปลกใหม่และท้าทาย
ช่วงชั้นที่ 1 อายุของผู้เรียน 6-9 ปี
ได้แก่
เพลง เกม ที่เล่นกลางแจ้ง
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่มีเนื้อเรื่องง่ายๆ ภาพสวยงาม
นิทานที่มีการผจญภัย ตัวนำเรื่องเป็นสัตว์หรือการ์ตูน
หนังสืออ่านเพิ่มเติม แบบฝึกใช้ ภาษาง่ายๆ
ช่วงชั้นที่ 4 อายุของผู้เรียน 15-18 ปี
ได้แก่
หนังสืออ่านเพิ่มเติม เอกสารประกอบการสอน
บทเรียนสำเร็จรูป
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
e-learning
สื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ ฯลฯ