Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติเกี่ยวกับปัจจัยการคลอด, Mild map ของ ศศิวิมล ศาลางาม 62114426…
ความผิดปกติเกี่ยวกับปัจจัยการคลอด
ความหมาย
การคลอดผิดปกติ(abnormal labour) เป็นการคลอดผิดปกติทุกรูปแบบที่ไม่ดำเนินไปตามลักษณะของการคลอดปกติ โดยที่ความก้าวหน้าในการคลอดล่าช้าหรือไม่เป็นไปตาม labour curve ปกติ
การประเมินความผิดปกติของปัจจัยการคลอด
Graphic analysis of labour curve
การวิเคราะห์ลักษณะเส้นกราฟ เป็นการติดตามความก้าวหน้าของการคลอดโดยการบันทึกการเปิดขยายของปากมดลูกและใช้การเคลื่อนตำ่ของศีรษะทารกโดยใช้ "Friedman curve" และปัจจุบันนิยมใช้ "WHO parthogarph"
Fetal condition
สภาพของทารกในครรภ์ เช่น ทารกที่มีส่วนนำผิดปกติที่มีส่วนนำเป็นท่าก้นหรือใบหน้า ทารกอยู่ในท่าผิดปกติหรือทารกอยู่ในท่าขวาง
Maternal condition
สภาพของมารดาจาการคลอดยาวนานอาจจะกระสับกระส่าย เจ็บครรภ์ มีภาวะขาดนำ้ มดลูกมีลักษณะ "Bandel's ring" ทำให้แตกได้
vaginal examination
การตรวจภายในช่วยวินิจฉัย การเปิดขยายของปากมดลูก ส่วนนำและท่าของทารก ระดับของส่วนนำ
Uterine contraction
การหดรัดตัวของมดลูก โดยพบว่ามดลูกเคยหดรัดตัวดี แต่กลับอ่อนแรง
Radiation&Ultrasound
ช่วยประเมินส่วนนำ ท่าและระดับของส่วนนำทารกได้ รวมทั้งประเมินสภาพของช่องเชิงกราน ซึ่งการตรวจวิธีนี้ไม่ค่อยนิยมเนื่องจากมีความยุ่งยาก
รูปแบบความผิดปกติของการคลอด
Phase of maximum slope(4-8cm)
Protracted active-phase dilatation
สาเหตุ
CPD
ท่าทารกผิดปกติ
Uterine dysfunction
ได้รับยาบรรเทาปวดมากเกินไป
การดูแลรักษา
ประเมินหาสาเหตุ หาขนาด ท่า ส่วนนำของทารก การหดรัดตัวของมดลูก แล้วแก้จามสาเหตุ
Secondary arrest of dilatation(ไม่เปิดช่วง active)
สาเหตุ
CPD
Fetal malposition
Uterine dysfunction
การดูแลรักษา
ระวังภาวะ CPD
ประเมินหาสาเหตุ หาขนาด ท่า ส่วนนำของทารก การหดรัดตัวของมดลูก แล้วแก้จามสาเหตุ
Deceleration phase(8-10cm)
Protracted descent
สาเหตุ
CPD
Fetal malposition
Uterine dysfunction
ให้ยาระงับความรู้สึก
การดูแลรักษา
ระวังภาวะ CPD
ประเมินหาสาเหตุ หาขนาด ท่า ส่วนนำของทารก การหดรัดตัวของมดลูก แล้วแก้จามสาเหตุ
Arrest of descent
Prolonged deceleration phase
Failure of descent
Latent phase(1-4 cm)
Prolonged latent phase
เฉลี่ยครรภ์แรก 8 hr. ครรภ์หลัง 5 hr.
สาเหตุ
ได้รับยาบรรเทาปวดเร็วไป
ปากมมดลูกไม่พร้อม
การหดตัวของมดลูกแรงเกินไป
เจ็บครรภ์เตือน
CPD
การดูแลรักษา
ให้พัก ให้ยาที่ทำให้ผ่อนคลาย
ให้ยากระตุ้น UC
ไม่ ARM
Second stage of labour
Prolong second stage without epidural anesthesia
สาเหตุ
CPD
Fetal malposition
Uterine dysfunction
การดูแลรักษา
ระวังภาวะ CPD
ประเมินหาสาเหตุ หาขนาด ท่า ส่วนนำของทารก การหดรัดตัวของมดลูก แล้วแก้จามสาเหตุ
ผลกระทบ
มารดา
ความเครียด,อ่อนล้า
การติดเชื้อ
การฉีกขาดของช่องคลอด
การตกเลือด
ภาวะแทรกซ้อนในระยะยาว
ภาวะแทรกซ้อนทางจิตใจ
ทารก
Fetal distress
การติดเชื้อ
Birth injury
Neonatal complications
Precipitate labor
Precipitate dilation
มี maximum slope of dilatation ≥ 5 cms/hr. (ครรภ์ แรก), ≥ 10 cms/hr (ท้องหลัง)
Precipitate descent
มี maximum slope of dilatation ≥ 5 cms/hr. (ครรภ์แรก),
≥ 10 cms/hr (ท้องหลัง)
การคลอดผิดปกติ(Dystocia)
ประเภท
Prolong labor:Dystocia ที่มี labor นานเกิน 24 hr.
Obstructed labor:dystocia ที่ดำเนินต่อไปไม่ได้ตามปกติ ต้องได้รับการแก้ไข
Dystocia:คลอดยาก ล่าช้า ไม่เป็นไปตาม labor curve
สาเหตุ
abnormal power
ความผิดปกติของแรงจากการหดรัดตัวมดลูก(uterine contraction)
ปกติมดลูกหดรัดตัวจังหวะสมำ่เสมอและสัมพันธ์กัน ระยะ active phase มดลูกหดรัดตัวทุก 3-5 นาที และเพิ่มถี่ทุก 2-3 นาที
การหดรัดตัวของมดลูกมากกว่าปกติ(hypertonic uterine dysfunction)
มีแรงดันมากกว่า 60 mmHg และช่วง interval น้อยกว่า 2 นาที พบในระยะปากมดลูกเปิดช้า(latent phase)
มดลูกหดรัดตัวไม่ประสานกัน(incoordinate contraction)
การหดรัดตัวส่วนกลางและส่วนล่างมากกว่าส่วนบน มีแรงดัน > 60 mmHg ระยะคลายตัวไม่เต็มที่ เจ็บครรภ์ตลอดเวลา การคลอดไม่ก้าวหน้า
การดูแลรักษา
ดูแลปลอบโยน ให้กำลังใจ
ให้ได้รับยาระงับปวด
ให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
1 more item...
มดลูกหดรัดตัวไม่คลาย(Tetanic contraction)
หดรัดตัวถี่นาน ไม่มีระยะพัก
การวินิจฉัย:ปวดมาก คลอดไม่ก้าวหน้า
การดูแลรักษา
ปรับลดหรือหยุดให้ oxytocin
คลอดติดขัด
ดูแลให้คลอดวิธีที่เหมาะสม
มดลูกหดรัดตัวเป็นวงแหวน
Bandl's ring
ดูแลให้ c/s ทันที
constriction ring
ให้ยาระงับปวด
พบ fetal distress ให้ c/s ทันที
การหดรัดตัวของมดลูกน้อยกว่าปกติ(hypotonic uterine dysfunction)
หดรัดตัวของมดลูกที่มีแรงดัน < 25 mmHg หดรัดตัวถี่
< 3 ครั้งใน 10 นาที
สาเหตุ
CPD
ท่าผิดปกติ
1 more item...
การดูแลรักษา
สวนปัสสาวะ
ให้สารนำ้
1 more item...
ความผิดปกติของแรงเบ่ง(inadequate voluntary expulive forse)
ปกติแรงเบ่งทำให้ความดันภายในโพรงมดลูกเพิ่มขึ้น 1-2 เท่า
ถ้าแรงเบ่งไม่พอ>>เคลื่อนตำ่อย่างรวดเร็ว+ก้มหน้า+หมุนศีรษะของทารก
สาเหตุ
เบ่งไม่ถูกวิธี
ยาระงับปวด/ยาสลบ
1 more item...
การดูแลรักษา
แนะนำวิธีการคลอดที่ถูก
จัดท่า/ดูแลให้พักผ่อน
1 more item...
การวินิจฉัย
เบ่งสั้น/เบ่งออกเสียง
นอนบิดไปมา
1 more item...
abnormal passages
ช่องเชิงกรานแคบ(contracted pelvis/bony passage)
1.ช่องเข้าของเชิงกรานแคบ(pelvic inlet contraction)
การดูแลรักษา
เฝ้าคลอดอย่างใกล้ชิด
ระวังมดลูกแตกในคลอดหลัง
พิจารณาการทำ c/s
การวินิจฉัย
ไม่ engagement /ท่าผิดปกติ
กด fundus พบศีรษะเกยอยุ่บริเวณรอยต่อกระดูกหัวหน่าว
PV: sacral promontory/diagonal conjugate < 11.5 cm
1 more item...
2.ช่องกลางของเชิงกรานแคบ(midpelvic contraction)
การวินิจฉัย
PV:ischial spine ยื่นนูน
กระดูกเชิงกรานด้านข้างสอบนูนเข้าหากัน
sacrosciatic notch แคบ
1 more item...
การดูแลรักษา
แคบไม่มากคลอดเอง
เลี่ยงยากระตุ้น UC
ใช้ V2E ปลอดภัย > F2E
1 more item...
3.ช่องทางออกของเชิงกรานแคบ(pelvic outlet contraction)
การดูแลรักษา
ช่อยคลอดโดยตัดฝีเย็บให้กว้างๆ
การวินิจฉัย
Full dilate เบ่งคลอดทารกจะเคลื่อนตำ่ลงมาแต่เมื่อหยุดเบ่งศีรษะทารกจะถอยกลับขึ้นไป
4.เชิงกรานผิดปกติทุกส่วน(general pelvic contraction)
การดูแลรักษา
V/E,F/U
C/S
การวินิจฉัย
PV:ส่วนนำของทารกไม่เคลื่อนผ่านของเชิงกราน
การคลอดช้า
สาเหตุ
เชิงกรานเจริญเติบโตผิดปกติ
รูปแบบผิดปกติ
โรคกระดูก/เชิงกรานแตกร้าวจากอุบัติเหตุ
กระดูกสันหลัง/ขาพิการ
ช่องทางคลอดอ่อนผิดปกติ(abnormal soft passage)
ช่องคลอดตับ(vaginal stenosis) ช่องคลอดมีผนังกั้น(septate vagina) หรือมีเนื้องอก
ปากมดลูกบวม(cervical edema)
ช่องคลอดตีบแคบ หลังการบาดเจ็บหรือักเสบ การแข็งตึงของฝีเย็บ
ทรงมดลูกผิดปกติ ควำ่หน้า/ควำ่หลัง
เนื้องอกรังไข่ อาจรุกเข้ามาในอุ้งเชิงกราน
abnormal passengers
1.ความผิดปกติเกี่ยวกับส่วนนำทารก(abnormal presentation)
ทารกส่วนนำเป็นก้น(breech presentation)
การวินิจฉัย
ตรวจท้อง:ยอดมดลูกคลำได้ก้อนกลมแข็ง+(ballottement)และคลำได้ก้นนุ่ม้หนือหัวหน่าว
ฟังFHSสูงกว่าระดับสะดือ
การดูแลรักษาทารกท่าก้น
พบท่าก้น GA<32 wk. ให้ ANC ปกติและติดตามประเมินท่าทุกครั้งที่มา
GA>32 wk. ควรตรวจด้วย U/S เพื่อยืนยันท่าและเลือกวิธีช่วยคลอด
มารดาและทารกไม่พบภาวะผิดปกติแพทย์อาจทำ external cephalic version + คลอดเอง หรือถ้าไม่หมุนก็คลอดท่าก้น
1 more item...
ส่วนนำเป็นหัวไหล่/แนวขวาง(shoulder presentation/transverse lie)
การวินิจฉัย
ตรวจท้อง HOF ค่อนข้างตำ่ ท้องขยายออกข้าง
คลำศีรษะได้ที่ iliac fossa ได้ก้นด้านตรงข้าม
FHS สูงหรือตำ่กว่าสะดือเล็กน้อย
1 more item...
การดูแลรักษา
อาจทำ external cephalic version +คลอดเอง
ถ้านำ้ครำ่แตก/เจ็บครรภ์ ให้ C/S เป็นวิธีที่ปลอดภัยที่สุด
ทารกมีส่วนนำร่วม(compound presentation)
การวินิจฉัย
PV พบแขน/ขาอยู่ข้างส่วนนำ
การดูแลรักษา
ติดตามความก้าวหน้าในการคลอด+เฝ้าระวัง
ทารกสามารถดึงกลับเข้าไปเอง แต่หากไม่ผู้ดูแลอาจใช้นิ้วดันส่วนที่ยื่นลงมาขึ้นไป พร้อมกับกดที่ยอดมดลูกเพื่อให้ศีรษะลงมาในช่องเชิงกราน
ถ้าสายสะดือย้อย,fetal distress ให้ประเมิน FHS+O2+เตรียม C/S
2.ความผิดปกติเกี่ยวกับท่าทารก(abnormal position)
ทารกมีส่วนนำเป็นศีรษะ แต่ส่วนท้ายทอยไม่ได้อยู่ด้านหน้าของเชิงกราน
สาเหตุ
Hypotonic UT
Contracted pelvis
คลำท่าทารกได้ไม่ชัด/คลำหลังค่อนไปทางสีข้าง/แขน ขาบริเวณกลางท้อง
PV พบกระหม่อมหลังอยู่ทางหลัง2เอียงซ้ายขวา
การดูแลรักษา
รอให้ศีรษะหมุนเองแต่อาจใช้เวลานาน
ตัดฝีเย็บให้กว้าง
V/E,F/E,C/S
3.ความผิดปกติเกี่ยวกับทรงของทารก(abnormal attitude)
สาเหตุ:จากเชิงกรานแคบ ผนังหน้าท้องหย่อน ทารกแฝด ทารกตัวตัว ไม่มีสมอง
การดูแลรักษา
ตรวจว่ามีช่องเชิงกรานแคบหรือไม่ ถ้าไม่แคบให้คลอดทางช่องคลอด
Monitor FHS
ท่า Mento-anterior ให้คลออดเองได้ เพราะเด็กจะ flex หัวลงตาม Pelvis
ท่า Mento-position/หน้าผากเป็นส่วนนำจะคลอดไม่ได้ให้ผ่าคลอดท่านั้น
4.ความผิดปกติเกี่ยวกับ engagement (abnormal engagement)
ส่วนนำ ท่า และทรงปกติ แต่มีการ engagement ผิดปกติ
position cooipitalis pubica ทารหมีการ emngagement โดยหันท้ายทอยไปด้านหน้าตรงๆ
position cooipitalis pubica ทารหมีการ emngagement โดยหันท้ายทอยไปด้านหลังตรงๆ โดย sagittal suture จะขนานกับแนวเชิงกราน
5.ความผิดปกติเกี่ยวกับ asynclitism (abnormal asynclitism)
ท่าและทรงปกติแต่มีการ engagement ผิดปกติ โดยตะแคงเอา parietal bone ชิดไปด้านใดด้านหนึ่ง
การดูแลรักาษา
ดูแลให้ได้รับสารอาหารและธาตุเหล็กอย่างเพียงพอ
ติดตามNST,BPP ทุกสัปดาห์ ช่วง 28-32 สัปดาห์
ดูแลให้คลอดอย่างเหมาะสม
ระวังในการใช้ oxytocin เพราะมดลูกแตกได้
หนีบสายสะดือเมื่อคนแรกคลอด ป้องกันการถ่ายเทเลือด
abnormal physiological
การวินิจฉัย
ประวัติโรคประจำตัว
ใช้ระยะเวลาในการเบ่งคลอดยาวนาน
มีสีหน้าอ่อนเพลีย
ไม่มีแรงเบ่ง
การรักษา
ให้สารนำ้
Monitor FHS
F/E,V/E
C/S
ปลอบ/ให้กำลังใจ
abnormal psychological
การวินิจฉัย
ไม่มีประสบการณ์/ประสบการณ์คลอดที่ไม่ดี
เผชิญปัญหาไม่เหมาะสม
ไม่พร้อมการตั้งครรภ์
ร้องไห้ครวญคราง/พฤติกรรมก้าวร้าว
การดูแลรักษา
ให้คำแนะนำเบ่งคลอดที่ถูกวิธี
ปลอบประโลม ให้กำลังใจผู้คลอด
Monitor>>fetal distress>>C/S
อาการแสดง
ร้องไห้
ครวญคราง
เอะอะโวยวาย
ก้าวร้าว
บิดตัวไปมา
1 more item...
abnormal of the maternal position during labor and birth
ท่าในแนวดิ่งกับระยะเวลาในระยะที่สองของการคลอดในกลุ่มตัวอย่างครรภ์แรกและครรภ์หลังไม่มีความสัมพันธ์กัน
ท่าในแนวดิ่งสามารถช่วยลดการใช้สูติศาสตร์หัตถการการช่วยคลอดและการตัดฝีเย็บได้อย่ามีนัยสำคัญทางสถิติและทารกหลังคลอดมีอัตราความผิดปกติลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ภาวะศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับเชิงกราน(cephalopelvic disproportion:CPD)
เกิดได้ 2ระดับคือ Inlet,midpelvis
CPD ที่ Midpelvis เจอบ่อยที่สุดเพราะเป็นช่วงที่แคบที่สุดในช่องทางคลอด(ischial spine=interspinous distance)
ถ้าหัวเด็ก engage แล้ว station อย่างน้อย -1 >> CPD ระดับ inlet
ถ้าหัวเด็ก engage แล้ว station +2 เป็นต้นไป >>คลอดได้ไม่ CPD
ถ้าหัวเด็ก engage แล้ว station PV station 0 >> CPD ระดับ midpelvis
การคลอดไหล่ยาก(Shoulder dystocia)
ภาวะที่มีศีรษะทารกคลอดแล้วแต่ไหล่ยังไม่คลอดนาน>1นาที หรือจำเป็นต้องใช้วิธีการอื่นช่วยให้ไหล่คลอด
การวินิจฉัย
ศีรษะและใบหน้าทารกมีขนาดใหญ่ คางทารกติดแน่นกับฝีเย็บหรือถูกดึงรั้งกลับเข้าไปในช่องคลอด เรียกว่า Turtle sign
ยากลำบากในการทำคลอดปกติrestitution
การแก้ไขเบื้องต้น
Call for help, Empty bladder---สวนปัสสาวะ, ให้ยาระงับปวด
Deep mediolateral episiotomy--- ตัดฝีเย็บให้กว้างในแนวเฉียง
McRobert’s maneuver--- 2 คน ยกขาผู้คลอดคนละข้าง เป็น Knee-chest
Suprapubic pressure--- 1 คน กดเหนือ pubic symphysis
Wood,s corkcrew maneuver---หมุนไหล่หลัง 180 องศา ไปเป็นไหล่หน้า
Rubin’s maneuver---เอามือไปห่อไหล่ตรง scapula ผลักให้หมุนไปด้านหน้าเกิด adduction
คลอดไหล่หลัง--- ใส่มือไปล้วงปลายแขนหลัง ดันที่ Antecubital fossa ให้เด็กงอแขนแล้วจับมือของเด็กดึงผ่าน หน้าอกออกมา
Zavanelli maneuver---หมุดและดันหัวเด็กกลับเข้าไปใน pelvis แล้ว C/S
Adequate episiotomy,Mcrobert'smaneuver โดยผู้คลอด
Suprapubic pressure
Suprapubic pressure ร่วมกับ McRobert’s maneuver
Woods corkscrew maneuver
Rubin maneuver
Zavanelli maneuver:การหมุนศีรษะกลับเข้าไปในเชิงกรานให้ ไป C/S
all-fours position
อ้างอิง
วายุรี ลำโป.(2564).การพยาบาลสตรีที่มีปัจจัยการคลอดผิดปกติ.สาขาวิชาการพยาบาลมารดาและทารก;4-77.
Mild map ของ ศศิวิมล ศาลางาม 62114426 Sec.3 No.37