Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 นวัตกรรมการศึกษา - Coggle Diagram
บทที่ 2 นวัตกรรมการศึกษา
หัวข้อที่ 2.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนวัตกรรมการศึกษา
ความหมายและความสำคัญของนวัตกรรมการศึกษา
นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation) หมายถึง แนวคิด วิธีการ เครื่องมือหรือสื่อกระบวนการ ตลอดจนสิ่งประดิษฐ์ที่สร้างขึ้นใหม่หรือพัฒนาปรับปรุง จากเดิม
นวัตกรรมการศึกษามีความสำคัญ คือ ทำให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ง่ายขึ้น เป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความอยากรู้อยากเห็นในเรื่องที่จะเรียน
หลักเกณฑ์ในการพิจารณานวัตกรรม
1 เป็นแนวคิดใหม่วิธีการใหม่หรือสิ่งใหม่ที่ไม่เคยใช้มาก่อน
2 เป็นสิ่งเดิมจากที่อื่น แล้วนำมาใช้กับสภาพการใหม่
3 เป็นสิ่งเดิม ที่ถูกพัฒนาให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
4 เป็นสิ่งที่ยังไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของระบบงาน
5 เป็นสิ่งที่อยู่ในระหว่างการวิจัย หรือพิสูจน์ด้วยการวิจัยแล้วว่าช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพสูงขึ้น
3. ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษาที่แบ่งตามลักษณะของนวัตกรรม
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษาที่แบ่งตามประเภทของผู้ใช้
ประเภทของนวัตกรรมที่แบ่งตามขอบเขตการจัดการศึกษา
หัวข้อที่ 2.5 การพัฒนานวัตกรรมเพื่อการเรียนการสอน
การที่ครูจะนำนวัตกรรมและสื่อต่างๆ มาใช้พัฒนาการเรียนการสอนให้ได้ผล ต้องมีการออกแบบการใช้นวัตกรรมและสื่อต่างๆ อย่างเป็นระบบเพื่อเป็นงานวิจัยในการพัฒนาการเรียนการสอน
สร้างสื่อนวัตกรรม
ทดลองใช้นวัตกรรมเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและเผยแพร่
ออกแบบ สื่อนวัตกรรม
สร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
วางแผนการสอนและจัดทำแผนการสอน
การประเมินผลการเรียนรู้จากการใช้สื่อนวัตกรรมแก้ปัญหาการเรียนการสอน
เลือกนวัตกรรมนำมาใช้เป็นวิธีการแก้ปัญหาได้เหมาะสม
ทดสอบประสิทธิภาพ
สืบด้านนวัตกรรมและสื่อต่างๆ
หัวข้อที่ 2.2 นวัตกรรมประเภทวัสดุอุปกรณ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
นวัตกรรมการศึกษาประเภทวัสดุอุปกรณ์เป็นสื่อที่ครูจัดทำมาดั้งเดิม ส่วนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ส่วนใหญ่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์
สื่อประสม (Multi Media)
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI)
สื่อหลายมิติ (Hypermedia Document)
หน่วยความรู้เฉพาะเรื่อง (Learning object : LO)
สื่ออุปกรณ์เทเล็ท (Tablet PC)
ระบบการเรียน e-Learning (Electronic Learning)
บทเรียนสำเร็จรูป (Programmed Book)
การเรียนรู้ผ่านเกม (Game-based learnine)
บทเรียนการ์ตูนและบทเรียนนิทาน
ความเป็นจริงเสมือน (Virtal Reality : VR)
หัวข้อที่ 2.4 การเลือกใช้นวัตกรรมที่เหมาะสมกับช่วงชั้น/อายุของผู้เรียน
การพิจารณาเลือกใช้สื่อการสอน ครูควรพิจารณาถึงความเหมาะสมของสื่อ การสอนแต่ละชนิด หลักการเลือกใช้สื่อนวัดกรรมโดยทั่วไป มีดังนี้
สื่อช่วยให้ผู้เรียนรู้จักคิดอย่างมีเหตุผลและช่วยเพิ่มพูนประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน
สื่อมีเนื้อหาถูกต้อง ทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เนื้อหาและได้ข้อสรุปที่ถูกต้อง
ระดับความยากง่ายของเนื้อหาในสื่อเหมาะสมกับระดับความสามารถความสนใจ และความต้องการของผู้เรียน
คุ้มค่ากับราคา ผลที่ได้จะคุ้มค่ากับเวลา เงิน และการจัดเตรียมสื่อ
สื่อตรงกับความต้องการ ช่วยให้ผู้เรียนร่วมกิจกรรมตามวัตถุประสงค์ของการสอนที่กำหนดไว้
ใช้การได้ดี สื่อที่นำมาใช้ควรทำให้เกิดประสิทธิภาพในการเรียนรู้ได้ดี
หัวข้อที่ 2.3 นวัตกรรมประเภทเทคนิคและวิธีการ
เป็นวิธีการสอนหรือกิจกรรมหรือกระบวนกรถ่ายทอดที่แตกต่างจากวิธีการเดิมที่ครูใช้อยู่ ซึ่งอาจมีนวัตกรรมประเภทวัสดุอุปกรณ์หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์เข้ามาใช้ประกอบ
การเรียนรู้แบบอุปนัย (Induction Method)
การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning and Collaborative Learning)
การเรียนรู้ที่ใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem-based Learning)
การเรียนรู้แบบโครงงาน (Project-based learning)
การเรียนรู้แบบต่อบทเรียน (Jigsaw)
การสอนแบบบริษัทจำลอง (Mini Company)
การเรียนรู้แบบศูนย์การเรียน (Learning Center)
การเรียนรู้แบบ (Story line)
การสอนแบบหน่วย (Unit Teaching Method)
การใช้แบบทดสอบวินิจฉัย (diagnostic test)