Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สาเหตุและแนวทางการป้องกันการเจ็บป่วยและการตายของคนไทย, นายภาณุวิชญ์…
สาเหตุและแนวทางการป้องกันการเจ็บป่วยและการตายของคนไทย
ภาวะแปรปรวนทางจิตและพฤติกรรม
อาการ
นอนไม่หลับ
เดินไปเดินมา
พูดคนเดียว
หวานระแวง
ประสาทหลอน
สาเหตุ
พันธุกรรม
ระบบสารเคมีในสมอง
ความเครียดต่างๆ
การเปลี่ยนแปลงระบบฮอร์โมนในเลือด
การป้องกัน
ฝึกสติให้ทันความคิดตนเอง
มีวิธีคลายเครียดอย่างเหมาะสม
ออกกำลังกาย
โรคซึมเศร้า
สาเหตุ
เกิดจากความเครียด
สภาพทางจิตใจที่เกิดจากการเลี้ยงดู
การเผชิญกับสถานการณ์เลวร้าย
อาการ
รู้สึกเศร้าใจ หม่นหมอง หงุดหงิด หรือรู้สึกกังวลใจ ไม่สบายใจ
ขาดความสนใจต่อสิ่งแวดล้อมรอบข้าง
น้ำหนักลดลง หรือเพิ่มขึ้น
นอนไม่หลับ หรือนอนมากเกินกว่าปกติ
วิธีป้องกัน
อย่านำตัวเข้าไปเกี่ยวข้องกับสถานการณ์ที่ซับซ้อน
อย่าตั้งเป้าหมายที่บรรลุได้ยาก
อย่าคาดหวังกับตนเองมากเกินไป
วิธีการรักษาโรคซึมเศร้า
การรักษาทางจิตใจของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
รักษาโรคซึมเศร้าด้วยการใช้ยา
ความดันโลหิตสูง
ชนิดของโรคความดันโลหิตสูง
ชนิดที่ไม่ทราบสาเหตุชัดเจน ส่วนใหญ่เชื่อกันว่าเกิดจาก 2 ปัจจัย คือ กรรมพันธุ์หรือสิ่งแวดล้อม โดยส่วนใหญ่เกิดจากปัจจัยส่งเสริม เช่น ภาวะอ้วน เบาหวาน ทานอาหารเค็ม ดื่มสุรา สูบบุหรี่ เครียด เป็นต้น
ชนิดที่ทราบสาเหตุ เป็นโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นผลมาจาก ที่เป็นโรคอื่นมาก่อนและมักต้องรักษาโรคที่เป็นสาเหตุด้วย
สาเหตุ
อ้วนหรือมีน้ำหนักเกิน
ไขมันในเลือดสูง
ดื่มแอลกอฮอล์อย่างหนัก
กินเค็มเป็นประจำ
ขาดการออกกำลังกาย
มีภาวะดื้ออินซูลินหรือเป็นเบาหวาน
กรรมพันธุ์
เพศและอายุ
อาการ
ปวดศีรษะ วิงเวียน ตาพร่ามัว
อ่อนเพลีย เหนื่อย
นอนไม่หลับ
หัวใจเต้นผิดปกติ นำไปสู่ความเสี่ยงที่จะเป็นโรคหัวใจวาย หลอดเลือดหัวใจตีบ หรืออุดตัน ไตเสื่อม เส้นเลือดในสมองแตกทำให้เกิดอัมพฤกษ์ อัมพาต หรืออันตรายถึงชีวิต
วิธีป้องกัน
ตรวจเช็คร่างกายและวัดความดันโลหิตเป็นประจำ
พยายามควบคุมน้ำหนักตัวไม่ให้อ้วน
ไม่รับประทานอาหารรสเค็มจัด
รับประทานผักและผลไม้เป็นประจำ
ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
พักผ่อนให้เพียงพอ
ลดความเครียด ความวิตกกังวล ทำกิจกรรมที่รู้สึกผ่อนคลาย
โรคเบาหวาน
อาการ
กระหายน้ำมาก ปากแห้ง ปัสสาวะบ่อย หิวบ่อย
น้ำหนักลดหรือเพิ่มผิดปกติ
สายตาพร่ามัว เห็นภาพไม่ชัด รู้สึกเหนื่อยง่าย
มีอาการชาโดยเฉพาะมือและขา บาดแผลหายยาก
สาเหตุ
บาหวานประเภทที่ 1 (Type 1 Diabetes) เกิดจากตับอ่อนไม่สามารถผลิตฮอร์โมนอินซูลินได้
เบาหวานประเภทที่ 2 (Type 2 Diabetes) เกิดจากการที่ตับอ่อนผลิตฮอร์โมนอินซูลินได้ไม่เพียงพอต่อการใช้ หรือเกิดภาวะการดื้ออินซูลิน (Insulin Resistance)
เบาหวานขณะตั้งครรภ์ (Gestational Diabetes) ซึ่งเป็นโรคเบาหวานที่พัฒนาขึ้นระหว่างการตั้งครรภ์จากการเปลี่ยนแปลงฮอร์โมน โดยที่ผู้ป่วยไม่เคยเป็นโรคเบาหวานมาก่อน
การป้องกัน
ระวังระดับน้ำตาลในเลือดและคอเลสเตอรอลให้อยู่เกณฑ์ปกติ
เน้นการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และสารอาหารครบถ้วน มีกากใยสูง
หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ และการสูบบุหรี่
ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
โรคมะเร็งและเนื้องอกทุกชนิด
อาการ
ช่วงแรกจะไม่มีอาการ
มีอาการอย่างใดอย่างหนึ่งตามสัญญาณอันตราย 8 ประการ เช่น ถ่ายอุจจาระเป็นสีดำ หรือมีปัสสาวะเป็นเลือด
มีอาการป่วยของโรคทั่วไป เช่น อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
มีอาการบ่งบอกว่ามะเร็งอยู่ใน ระยะลุกลาม
สาเหตุ
เกิดจากสิ่งแวดล้อม หรือภายนอกร่างกาย เช่น สารก่อมะเร็งปอด รังสีเอกซเรย์
เกิดจากความผิดปกติในร่างกาย เช่น การมีภูมคุ้มกันบกพร่อง ภาวะทุพโภชนาการ
การป้องกัน
ลดอาหารไขมันดองเค็ม ปิ้งย่าง
ไม่กินอาหารสุกๆ ดิบๆ
ลดการดื่มแอลกอฮอล์ และลดการสูบบุหรี่
ไม่ควรอยู่กลางแสงแดดนานเกินไป
กินอาหารเพื่อสุขภาพ เช่นผักผลไม้
เนื้องอก
สาเหตุ ไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดแต่อาจจะเกิดได้จากปัจจัยต่างๆ เช่นได้รับสารเคมีพันธุกรรม รังสีการอักเสบและติดเชื้อ
อาการ จะมีก้อนเนื้อผิดปกติบริเวณส่วนต่างๆของร่างกาย ถ้าจับดูจะแข็งมากกว่าเนื้อปกติหรือรู้สึกเจ็บบริเวณนั้น
การป้องกัน
กินอาหารที่มีประโยชน์
หลีกเลี่ยงการอยู่แสงแดดเป็นเวลานาน
หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ หรืออยู่ที่มีควันบุหรี่
ตรวจสุขภาพอย่างสม่ำเสมอ
โรคหัวใจ
สาเหตุ เกิดจากหลอดเลือดแดงไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจแข็งตัวหรือมีไขมันไปเกาะผนังหลอดเลือดแดงตีบแคบลง ปริมาณเลือดผ่านได้น้อย
อาการ
อาการที่เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลันพบ เช่น เจ็บหน้าอกแน่นหน้าอกหายใจไม่ทันหัวใจหยุดเต้นกะทันหัน
อาการที่สังเหตได้จากร่างกาย เช่น ขาบวมโดยไม่ทราบสาเหตุปลายมือเท้าและริมฝีปากมีลักษณะเขียวคล้ำ
การป้องกัน
ควบคุมน้ำหนัก
กินอาหารสุขภาพ
ออกกําลังกายอย่างสม่ำเสมอ
ไม่ดื่มแอลกอฮอล์และไม่สูบบุหรี่
ตรวจสุขภาพประจําปีอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
โรคปอดอักเสบ
อาการ
มีอาการที่ไม่แน่ชัด
มีการไอ ในระยะแรกจะไอแห้ง จากนั้นมีเสมหะ
มีอาการปวดศรีษะ ปวดเมื้อยกล้ามเนื้อ ปวดท้อง คลื่นไส้อาเจียน
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อ โดยเฉพาะเชื้อแบคทีเรีย
เป็นภาวะแทรกซ้อนของโรคไข้หวัดใหญ่
การป้องกัน
ฉีดวัคซีนป้องกันโรคปอดอักเสบ
หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ได้แก่ การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮล์
หมั่นดูแลสุขภาพตนเอง
ไม่ควรอยู่ในที่แออัด
นายภาณุวิชญ์ พงษ์ภมร 5/3 เลขที่ 13