Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 สิ่งคุกคามจากการทำงาน และการป้องกันควบคุม - Coggle Diagram
บทที่ 3 สิ่งคุกคามจากการทำงาน
และการป้องกันควบคุม
สิ่งคุกคามจากการทำงานทางกายภาพ
1. ความร้อน**
1. ความร้อน
พลังรูปแบบหนึ่งสามารถรับรู้ได้โยการใช้ประสาทสัมผัส
2. อุณหภูมิ
ระดับความร้อน มีหน่วยเป็น องศาเซลเซียส และ องศาฟาเรนไฮต์
3. ปริมาณความร้อน
จำนวนความร้อนที่ถูกถ่ายเทจากวัตถุไปยังอีกวัตถุหนึ่ง หน่วยที่ใช้ 1. กิโลแคล 2. บีทียู
4. อุณหภูมิเวตบัลบ์โกลบ WBGT
มีหน่วยเป็น องศาเซลเซียส
ระดับความร้อน
คือ อุณหภูมิเวตบัลบ์โกลบในบริเวณที่ลูกจ้างทำงาน ตรวจวัด โดยเฉลี่ยในเวลาช่วง 2 ชั่วโมงที่มีอุณหภูมิเวตบัลบ์โกลบสูงสุดของการทำงานปกติ
อาชีพกลุ่มเสี่ยง
คนรับจ้างทั่วไป เกษตรกร และกลุ่มนักเรียน
อวัยวะที่ควบคุมอุณหภูมิ
ระบบประสาทส่วนกลาง
(central nervous system,CNS) ในส่วนไฮโปทาลามัส ทำหน้าที่เสมือน thermostat ตั้งไว้ที่ 37 องศา เพื่อรักษาอุณห๓ูมิในร่างกายให้คงที่
การเพิ่มความร้อน
ภายในร่างกาย
การเพิ่มของปริมาณฮอร์โมนไทรอกซิน จะทำให้ความร้อนภายในร่างกายเพิ่มเป็น 2 เท่า
ภายนอกร่างกาย
อุณหภูมิในสิ่งแวดล้อมสูงกว่าอุณหภูมิภายในร่างกายจะทำให้ความร้อนเพิ่มขึ้น
การเปลี่ยนแปลงสรีรวิทยาจากความร้อน
กระตุ้นสมองส่วนไฮโปทาลามัส เพื่อลดอุณหภูมิของเลือด
หลอดเลือดบริเวณผิวหนังจะขยายตัว เส้นขนที่ผิวหนัง จะเอนราบ ช่วยให้สามารถถ่ายเทความร้อนในร่างกายออกสู่สิ่งแวดล้อมได้มากขึ้น
ผลกระทบของความร้อนต่อสุขภาพ
1. โรคผิวหนัง
ผดผื่นตามผิวหนัง ผิวหนังร้อนแดง และมีตุ่มพุพองขึ้นตามลำตัว
การป้องกันและควบคุม
คือ หลีกเสี่ยงการสัมผัสความร้อนเป็นเวลานาน
2. บวมจากความร้อน
สัมผัสความร้อนมากเกินไป ทำให้หลอดเลือดขยายตัวมากขึ้น ทำให้เกิดอาการบวมที่อวัยวะส่วนปลาย
การป้องกันและควบคุม
ปรับสภาพแวดล้อม หรือเคลื่อนย้ายผู้ประสบเหตุออกไปจากสิ่งแวดล้อมที่ร้อน
3. ตะคริวจากความร้อน
เกิดจากร่างกายได้รับความร้อนสูงร่างกายจะปรับตัวโดยการขับเหงื่อออกจากร่างกาย เป็นผลให้ร่างกายสูญเสียเกลือแร่ออกมากับเหงื่อปริมาณมาก
การป้องกันและควบคุม
กระตุ้นให้ดื่มน้ำ หรือสารละลายเกลือแร่
4.อ่อนเพลียเนื่องจากความร้อน
อุณหภูมิสูงขึ้นร่างกายจะสูญเสียเกลือโซเดียมและคลอไรด์มาก ทำให้เลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
การป้องกันและควบคุม
5. ลมแดด
อาการที่เกิดจากร่างกายได้รับความร้อนมากเกินไป อุณหภูมิในร่างกายสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว บางรายอาจถึงขั้นชักกระตุกและหมดสติ
การป้องกันและควบคุม
หลีกเลี่ยงทำกิจกรรมที่แจ้งที่มีอากาศร้อนมากๆ
เทคนิคการป้องกันควบคุมความร้อน
การควบคุมที่แหล่งกำเนิด
1.การลดอุณหภูมิ
2.การใช้แผ่นกั้นกันความร้อน
การควบคุมทางผ่าน
1.ลดระยะเวลาการทำงานของผู้ปฏิบัติงาน
2.จัดหาน้ำดื่มที่มีเกลือผสมอยู่ 0.1 เปอร์เซ็นต์ (%) และผู้ปฏิบัติงานจะต้องได้รับการฝึกอบรมให้ดี
การควบคุมที่ผู้รับ
โดยเลือกใช้ชุดเสื้อผ้าที่ทำจากอลูมิเนียมกันความร้อนใส่ชั่วคราวเวลาเข้าไปในที่ร้อน เสื้อผ้าหรือชุดที่ต้องทำงานในที่ร้อนตลอดเวลาต้องออกแบบพิเศษ
2. แสงสว่าง
มีความสำคัญต่อการมองเห็นขณะปฏิบัติงานการทำงาน หน่วยวัดเป็นลักซ์ (lux) วัดด้วยเครื่องวัดแสงเรียกว่า ลักซ์มิเตอร์ (lux meter) หรือ โฟโต
มิเตอร์ (photometers)
แหล่งกำเนิดพลังงานจากแสงสว่าง
1. แสงสว่างจากธรรมชาติ
คือ ดวงอาทิตย์
2. แสงสว่างจากการประดิษฐ์
เช่น หลอดไฟฟ้าชนิดต่างๆ
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับแสงสว่าง
คือความเข้มของแสงสว่างที่มากหรือน้อยเกินไป เกิดขึ้นได้
จากหลายปัจจัย เช่น การออกแบบ การจัดวางผังการผลิต
ผลกระทบของแสงสว่างต่อสุขภาพ
ความเข้มของแสงสว่างมีผลกระทบต่อผู้ปฏิบัติงาน น้อยเกินไป
จะมีผลเสียต่อนัยน์ตา หรือถ้าแสงสว่างมากเกินไป จะทำให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดความไม่สบาย เมื่อยล้า ปวดตา
แสงสว่างที่ควรหลีกเลี่ยง
1. การเกิดแสงจ้า
1.1 แสงจ้าเข้าตาโดยตรง แสงสว่างที่ส่องผ่านหน้าต่างหรือแสงสว่างที่เกิดจากดวงไฟที่ติดตั้ง
1.2 การลดแสงจ้าจากดวงไฟ การใช้โคมไฟ หรือที่ครอบลึกพอควร
2. การเกิดเงา
เพราะมองไม่เห็นหรือเห็นไม่ชัด
การบำรุงรักษาระบบแสงสว่าง
ความเข้มของการส่องสว่างที่ได้รับจะเหลือเพียงครึ่งเดียวและทำให้การจัดแสงสว่างที่ำเนินการไว้ไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงานได้ ดังนั่นการทำความสะอาดส่วนใหญ่เป็นการปัด กวาดฝุ่น ทั่วไป
3. เสียงดัง
เสียงที่ไม่พึงปรารถนา เกิดจากคลื่นเสียงสั่นสะเทือนอย่างรวดเร็วใน
อากาศ สามารถตรวจวัดได้โดยใช้เครื่องมือวัดเสียง หน่วยที่วัดความเข้มเสียงคือเดซิเบล (decibel)
เสียงถูกแบ่งออกได้เป็น 4 ชนิด
เสียงที่ดังสม่ำเสมอ
เสียงที่เปลี่ยนแปลงระดับเสมอ
เสียงที่ดังเป็นระยะ
เสียงกระทบ
ผลกระทบของเสียงดังต่อสุขภาพ
อันตรายต่อระบบการได้ยินของมนุษย
การสูญเสียการได้ยินจากเสียงดัง หรือโรคประสาทหูเสื่อมจากเสียงดัง แบ่งได้ 2 แบบ คือ การสูญเสียการได้ยินแบบชั่วคราวและ การสูญเสียการได้ยินแบบถาวร
อันตรายต่อสุขภาพจิต
อันตรายต่อความปลอดภัยในการทำงาน
4. ความสั่นสะเทือน
ลักษณะของการสั่นสะเทือน
การสั่นสะเทือนเกิดขึ้นจากการเคลื่อนที่ขึ้นลงหรืออแกว่งไปมาของวัตถุ เครื่องมือและเครื่องจักรกลต่างๆ
การสั่นสะเทือนแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด
1. การสั่นสะเทือนทั้งร่างกาย
การสั่นสะเทือนที่ส่งผ่านเบาะที่นั่งขับรถแทรกเตอร์รถบรรทุก รถขุดตักดิน หรือ ผู้ที่ควบคุมปั้นจั่น
2. การสั่นสะเทือนเฉพาะบางส่วนของร่างกายมือและแขน
การสั่นสะเทือนถูกส่งผ่านจากเครื่องมือหรืออุปกรณ์
อันตรายของการสั่นสะเทือน
1. การสั่นสะเทือนทั้งร่างกาย
ร่างกายจะมีความต้องการออกซิเจนเพิ่มมากขึ้น ปอดจะทำงานเพิ่มมาก ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ทางระบบทางเดินหายใจ ระบบหัวใจและหลอดเลือดและอาจส่งผลเสียต่อระบบร่างกาย
2. อาการแบบเรื้อรัง
พบว่าแรงสั่นสะเทือนจะเพิ่มแรงกดต่อไขสันหลัง ทำให้เกิดผลเสียต่อกระดูกสันหลัง และเพิ่มความเสี่ยงที่จะเป็นโรคปวดหลังส่วนล่างได้
3. การสั่นสะเทือนเฉพาะบางส่วนของร่างกาย
อาจเกิดความผิดปกติของกระดูกข้อและกล้ามเนื้อ ปลอกหุ้มเอ็นอักเสบ เป็นต้น
5. ความเย็น
สภาพบรรยากาศที่ท าให้ร่างกายมีการสูญเสียความร้อนมากกว่า
ปกติ สภาพแวดล้อมที่มีอุณหภูมิต่ ากว่า 18 - 20 องศาเซลเซียส
การตอบสนองทางสรีรวิทยา 2 แบบ
การลดการหมุนเวียนของเลือด โดยการหดตัวของหลอดเลือดที่ผิวหนัง
เพิ่มอัตราเมตาบอลิซึมของร่างกาย
อันตรายของความเย็น
มี 2 ชนิด คือ
1. อุณหภูมิของร่างกายต่ำกว่าปกติ
2. การบาดเจ็บจากความเย็นในเนื้อเยื่อเฉพาะที
อิมเมอร์ชั่นฟุต หรือ โรคเท้าเปื่อย เกิดจาก
เท้า ถูกแช่ในน้ าที่เย็นจัดเป็นระยะเวลานาน
ฟรอสท์นิพ เกิดจากเนื้อเยื่อสัมผัสความเย็นจัดจนเกิดเป็นผลึกน้าในเนื้อเยื่อ
การป้องกันและควบคุม
การคัดเลือกผู้ที่จะปฏิบัติงานในสภาพแวดล้อมที่เย็นจัด
หลีกเลี่ยงคัดเลือกผู้ปฏิบัติงานที่มีอาการ
ผู้ประกอบอาชีพ ควรมีการดูแลป้องกันตนเองอย่างถูกต้อง
6. รังสี
รังสีในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ได้แก่ แสงสว่าง คลื่นวิทยุไมโครเวฟ รังสีใต้แดง รังสีเหนือม่วง รังสีเอกซ์รังสีแกมมา และรังสีคอสมิก
รังสีในรูปของอนุภาค เช่น แอลฟา เบตา และนิวตรอน เป็นต้น
คือพลังงานในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า(electromagnetic wave) หรือ
อนุภาครังสี (particle) ที่มีพลังงานสะสมอยู่แบบมีประจุและไม่มีประจุ ถูกแบ่งออกเป็น 2 ชนิด
แบ่งเป็น 2 ชนิด
รังสีชนิดที่ก่อให้เกิดการแตกตัว
รังสีชนิดที่ไม่มีการแตกตัว
อันตรายของรังสี
1. ผลกระทบจากรังสีต่อร่างกายตามระบบอวัยวะ
ระบบเซลล์และเนื้อเยื่อ
ระบบเลือดและการไหลเวียน
ระบบผิวหนัง
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบสืบพันธุ์
ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS) และสมอง
ระบบทางเดินหายใจ
ตับ ตา กระดูก และกระดูกอ่อน
2. ผลกระทบจากรังสีต่อการเกิดความผิดปกติทางพันธุกรรม
3. ผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารก
4. ผลกระทบจากรังสีต่อการเกิดมะเร็ง
การควบคุมอันตรายจากรังสี
การป้องกันควบคุมที่แหล่งกำเนิด
เพิ่มระยะทางระหว่างแหล่งกำเนิดรังสีและผู้รับรังสี
ก าหนดระยะเวลาในการปฏิบัติงาน
กำหนดเขตที่จะรับสัมผัสรังสีเป็นเขตหวงห้าม
การให้ความรู้แก่ผู้ประกอบอาชีพที่รับสัมผัสกับรังส
การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
7. ความกดดันบรรยากาศที่ผิดปกติ
ความกดดันบรรยากาศที่เปลี่ยนแปลงไปจากความกดดันปกติที่ระดับน้ำทะเล คือ 760 มิลลิเมตรของปรอท พบได้ในกลุ่มอาชีพนักประดาน้ำผู้ประกอบอาชีพในอุโมงค์และบ่อใต้น้ า
อาชีพกลุ่มเสี่ยง
นักประดาน้ำงานขุดอุโมงค์ อู่ต่อเรือ และผู้ประกอบอาชีพในสิ่งแวดล้อมในทะเลลึก วางท่อใต้ทะเล และผู้ประกอบอาชีพใต้ทะเล
อันตรายของความกดดันบรรยากาศที่ผิดปกติ
1. อันตรายจากความกดดันบรรยากาศสูง
เกิดภาวะอุดกั้นหลอดเลือดจากฟองอากาศ ที่นำเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ
เป็นโรคที่เกิดจากการเกิดฟองก๊าซในเลือด หรือในเนื้อเยื่อ
2. อันตรายจากความกดดันบรรยากาศต่ำ
เกิดภาวะเจ็บป่วยเฉียบพลันจากการขึ้นที่สูง
สิ่งคุกคามจากการทำงานทางเคมี
คำจำกัดความ และลักษณะของสารเคมี
1. ไอระเหย
ไอที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นของเหลว
2. ก๊าซ
ของไหลที่มีปริมาตรหรือรูปทรงไม่แน่นอน
3. ฝุ่น
อนุภาคของวัตถุของแข็ง
4. ฟูม
อนุภาคของวัตถุแข็งที่มีขนาดเล็กมาก
5. ละลอง
วัตถุเหลวที่ล่องลอยอยู่ได้ในอากาศ เกิดจากการกลั่นตัวมาจากก๊าซหรือของเหลว
6. ควัน
อนุภาคของคาร์บอนที่เกิดจากการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ
7. ตัวทำละลาย
ของเหลวอินทรีย์ใช้เป็นตัวทำละลาย
8. ของเหลว
สารที่มีรูปร่างไม่แน่นอน
สารเคมีที่ฟุ้งกระจายในบรรยากาศการทำงาน
สารเคมีฟุ้งกระจายในรูปอนุภาค
สารเคมีฟุ้งกระจายในรูปอนุภาค
สารเคมีฟุ้งกระจายในรูปก๊าซและไอระเหย
อันตรายของสารเคมี/ผลกระทบต่อสุขภาพของสารเคมี
การขาดอากาศหายใจ
การระคายเคือง
อันตรายต่อระบบการสร้างโลหิต
อันตรายต่อระบบการสร้างโลหิต
การเปลี่ยนแปลงกระบวนการเมตาบอลิซึม
อันตรายต่อกระดูก
อันตรายต่อระบบการหายใจ
ความผิดปกติทางพันธุกรรม
ความผิดปกติในทารก
มะเร็ง
การป้องกันและควบคุมแก้ไขอันตรายจากสารเคมี
การป้องกันที่แหล่งกำเนิด
การป้องกันที่ทางผ่าน
การป้องกันที่ตัวผู้ประกอบอาชีพ
สิ่งคุกคามจากการทำงานทางชีวภาพ
การป้องกันควบคุมการติดเชื้อจากการทำงานในโรงพยาบาล
การชำระล้างมือให้สะอาดโดยการใช้เทคนิค universal precaution
สวมใส่อุปกรณ์ที่เหมาะสม
การวางแผนเพื่อลดโอกาสในการแพร่เชื้อโรคในผู้ป่วยบุคลากรทางการแพทย์
ประเมินสุขภาพบุคลากรทางการแพทย์ก่อนการจ้างงาน
กลุ่มที่ไม่ใช่บุคลากรทางการแพทย์
สิ่งคุกคามจากการทำงานทางเออร์โกโนมิกส์
การศึกษาสภาพการทำงานที่มีความสัมพันธ์
ระหว่างผู้ปฏิบัติงานและสภาพแวดล้อมในการทำงาน
ปัญหาด้านเออร์โกโนมิกส์
สถานที่ที่ไม่ได้รับการออกแบบให้ถูกต้องเหมาะสมตามหลักเออร์โกโนมิกส์
ความผิดปกติของร่างกายที่เกิดจากเออร์โกโนมิกส์
เอ็นอักเสบ
โรคกลุ่มอุโมงค์คาร์ปาล
โรคนิ้วไกปืน หรือโรคนิ้วล็อก
โรคปวดหลังส่วนล่าง