Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนอุณหภูมิของสสาร, นางสาวลลิตา ปัตถา รหัสนักศึกษา…
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนอุณหภูมิของสสาร
การทดลองขั้นตอนที่ 2
อุปกรณ์
4.บีกเกอร์ 250 ml บรรจุน้ำ 75 ลูกบาศก์เซนติเมตร
5.บีกเกอร์ 250 ml บรรจุน้ำ 150 ลูกบาศก์เซนติเมตร
3.ตะเกียงแอลกอฮอล์
6.เทอร์มอมิเตอร์
2.ไฟแช็ก
7.ที่กั้นลม
1.ขาตั้งพร้อมที่จับ
ขั้นตอนการทดลอง
4.นำบีกเกอร์ใบที่สองที่มีน้ำ 150 ลูกบาศก์เซนติเมตร มาตั้งบนตะแกรง
ใช้เทอร์มอมิเตอร์วัดอุณหภูมิเริ่มต้นของน้ำ
3.ใช้ตะเกียงแอลกอฮอล์ให้ความร้อนแก่สสารและวัดอุณหภูมิทุกๆ 1 นาที จนครบ 5 นาที
ใช้ตะเกียงแอลกอฮอล์ให้ความร้อนแก่สสารและวัดอุณหภูมิทุกๆ 1 นาที จนครบ 5 นาที
ใช้เทอร์มอมิเตอร์วัดอุณหภูมิเริ่มต้นของน้ำ
7.บันทึกผล
1.นำบีกเกอร์ที่มีน้ำ 75 ลูกบาศก์เซนติเมตร มาตั้งบนตะแกรง
สรุปผล
มวลของสสารส่งผลต่ออุณหภูมิของสสาร เนื่องจากมวลของสสารที่มีปริมาณน้อยส่งผลให้อุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น แต่มวลของสสารมีปริมาณที่มากจะทำให้อุณหภูมิของสสารเพิ่มขึ้นทีละช้าๆ
การทดลองขั้นตอนที่ 1
อุปกรณ์
2.ขาตั้งพร้อมที่จับ
3.ที่กั้นลมพร้อมตะแกรง
1.เทอร์มอมิเตอร์
4.บีกเกอร์ 2 ใบ
แท่งแก้วคนสาร
6.ไฟแช็ก
7.เทียนไข 2 เล่ม
8.เครื่องจับเวลา
ขั้นตอนการทดลอง
4.นำน้ำใส่บีกเกอร์ใบที่ 2 ประมาณ 60 มิลลิลิตร
ใช้เทอร์มอมิเตอร์วัดอุณหภูมิของน้ำก่อนที่จะให้ความร้อน
3.นำเทียนไขมาจุดไฟและให้ความร้อนแก่สสาร 3 นาที
2.ใช้เทอร์มอมิเตอร์วัดอุณหภูมิของน้ำก่อนที่จะให้ความร้อน อุณหภูมิคงที่ของน้ำอยู่ที่ 25 องศาเซลเซียส
1.นำน้ำใส่บีกเกอร์ปริมาณ 60 มิลลิลิตรและตั้งบนตะแกรง
6.ใช้เทียนไขที่จุดไฟ 2 เล่ม เพื่อให้ความร้อนแก่สสารและจับเวลาวัดอุณหภูมิทุกๆ 30 วินาที จนครบ 3 นาที
สรุปผล
อุณหภูมิของน้ำที่ได้รับความร้อนจากเทียนไขสองเล่มจะมีอุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิของน้ำที่ได้รับความร้อนจากเทียนไขหนึ่งเล่ม เนื่องจากเทียนไขสองเล่มจะให้ปริมาณความร้อนมากกว่าเทียนไขหนึ่งเล่ม
สรุปได้ว่า ปริมาณความร้อนที่สสารได้รับจะส่งผลต่ออุณหภูมิของสสาร เมื่อปริมาณความร้อนเพิ่มขึ้นจะทำอุณหภูมิของสสารเพิ่มขึ้นตามไปด้วย
อุณหภูมิ (Temperature)
การวัดค่าเฉลี่ยของพลังงานจลน์ซึ่งเกิดขึ้นจากอะตอมแต่ละตัว หรือแต่ละโมเลกุลของสสาร เมื่อเราใส่พลังงานความร้อนให้กับสสาร อะตอมของมันจะเคลื่อนที่เร็วขึ้น ทำให้อุณหภูมิสูงขึ้น แต่เมื่อเราลดพลังงานความร้อน อะตอมของสสารจะเคลื่อนที่ช้าลง ทำให้อุณหภูมิลดต่ำลง
ในปัจจุบันสเกลอุณหภูมิที่นิยมใช้มี 3 ระบบ
องศาเซลเซียส
ปี ค.ศ.1742 แอนเดอส์ เซลเซียส (Anders Celsius) นักดาราศาสตร์ชาวสวีเดน ได้ออกแบบสเกลเทอร์มอมิเตอร์ให้อ่านได้ง่ายขึ้น โดยมีจุดหลอมละลายของน้ำแข็งเท่ากับ 0°C และจุดเดือดของน้ำเท่ากับ 100°C สเกลเซลเซียสจึงได้รับความนิยมใช้กันทั่วโลก อย่างไรก็ตามทั้งสเกลฟาเรนไฮต์และเซลเซียสอ้างอิงอยู่กับจุดเยือกแข็งและจุดเดือดของน้ำ ซึ่งเป็นสิ่งที่ใช้ทั่วไปในชีวิตประจำวัน
องศาสัมบูรณ์
ในคริสศตวรรษที่ 19 ลอร์ด เคลวิน (Lord Kelvin) นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษ ผู้ค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างความร้อนและอุณหภูมิว่า ณ อุณหภูมิ -273°C อะตอมไม่มีพลังงาน และไม่มีอุณหภูมิใดต่ำไปกว่านี้ เขาจึงกำหนดให้ 0 K = -273°C (ไม่ต้องใช้เครื่องหมาย ° กำกับหน้าอักษร K) เนื่องจากนักวิทยาศาสตร์ศึกษาความสัมพันธ์และการถ่ายเทพลังงานของสสาร ดังนั้นในวงการวิทยาศาสตร์จึงนิยมใช้สเกลองศาสัมบูรณ์ มากกว่าองศาฟาเรนไฮต์และองศาเซลเซียส
องศาฟาเรนไฮต์
ปี ค.ศ.1714 กาเบรียล ฟาเรนไฮต์ (Gabrial Fahrenheit) นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันได้ประดิษฐ์เทอร์มอมิเตอร์ซึ่งบรรจุปรอทไว้ในหลอดแก้ว เขาพยายามทำให้ปรอทลดต่ำสุด (0°F) โดยใช้น้ำแข็งและเกลือผสมน้ำ เขาพิจารณาจุดหลอมละลายของน้ำแข็งเท่ากับ 32°F และจุดเดือดของน้ำเท่ากับ 212°F ปัจจุบันสเกลฟาเรนไฮต์เป็นที่นิยมแต่ในประเทศสหรัฐอเมริกา
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
มวลของสาร
ชนิดของสารหรือค่าความร้อนจำเพาะ
ปริมาณความร้อน
นางสาวลลิตา ปัตถา รหัสนักศึกษา 641120225