Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยเตียง 18 มภร.10/1 Dx. Ca lung Pnemothorax รับไว้ในความดูแลวันที่…
ผู้ป่วยเตียง 18 มภร.10/1
Dx. Ca lung Pnemothorax
รับไว้ในความดูแลวันที่ 18 ธันวาคม 2564
ประวัติผู้ป่วย
อาการสำคัญ
เหนื่อยหอบ 3 วันก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
1 สัปดาห์ ก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยมานาน ไม่มีไอ ไม่มีเสมหะ ไม่มีไข้ ทำกิจวัตรประจำวันแล้วเหนื่อยง่าย ที่บ้านมี Oxygenใส่เวลานอน ทำกิจวัตรประจำวันปกติไม่ได้ เวลาเดินเข้าห้องน้ำ รู้สึกเหนื่อยจากเดิม
3 วันก่อนมาโรงพยาบาลรู้สึกเหนื่อยมากขึ้น ไอมีเสมหะ ไม่มีเลือดปน ไม่มีคลื่นไส้อาเจียน ทานอาหารได้ ไม่มีปวดท้อง ไม่มีถ่ายเหลว วันนี้ทานได้น้อยลง เหนื่อยมากขึ้น ญาติจึงนำตัวส่งโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
CA lung
เคยเจาะปอด เมื่อ 5-6 เดือนก่อน
ปฏิเสธการแพ้ยา
สูบบุหรี่มา 15 ปี(2 ซอง/วัน) เลิกสูบมาได้ 15 ปี
ดื่มเหล้า เลิกมาได้ 4-5 ปี
อาการปัจจุบัน
ผู้ป่วยชายไทย นอนอยู่บนเตียง ลักษณะผอมซูบ ผู้ป่วยลืมตา การมองเห็นปกติ มีแผลการใส่สายระบายทรวงอกบริเวณซี่โครงขวา กะโหลกศีรษะสมมาตรดี รูปร่างซูบผอม ระดับความรู้สึกตัว Glasgow coma score = E4M6V5 ถามตอบรู้เรื่อง ช่วยเหลือตนเองได้บนเตียง หายใจ On oxygen cannula 5 LPM ไม่มีหอบเหนื่อย On ICD 2 ขวด Rt.Chest no bleeding ไม่มีเลือดซึม มีแผล top ปอด ปิด gauze ไม่มีเลือดซึม on injection plug บริเวณแขน ไม่มี Phlebitis ปัสสาวะ สีเหลืองเข้มสัญญาณชีพ V/S T= 36.8 องศาเซลเซียส HR=114 ครั้ง/นาที RR = 18 ครั้ง/นาที BP= 117/82 mmHg Oxygen Sat = 98% (22/12/64)
ผู้ป่วยชายไทย นอนอยู่บนเตียง ลักษณะผอมซูบ ผู้ป่วยลืมตา การมองเห็นปกติ มีแผลการใส่สายระบายทรวงอกบริเวณซี่โครงขวา กะโหลกศีรษะสมมาตรดี รูปร่างซูบผอม ระดับความรู้สึกตัว Glasgow coma score = E4M6V5 ถามตอบรู้เรื่อง ช่วยเหลือตนเองได้บนเตียง หายใจ On oxygen cannula 2 LPM ไม่มีหอบเหนื่อย ช่วงเวลา 17.00 น. ผู้ป่วยหายใจหอบเหนื่อยมากขึ้นจากการเกิดกาลักน้ำ จึง On O2 mask with bag 11 L/min On ICD 2 ขวด Rt.Chest no bleeding ไม่มีเลือดซึม มีแผล top ปอด ปิด gauze มีไม่เลือดซึม on injection plug บริเวณแขน ไม่มี Phlebitis ปัสสาวะ สีเหลืองเข้มสัญญาณชีพ V/S T= 36.6 องศาเซลเซียส HR=114 ครั้ง/นาที RR = 24 ครั้ง/นาที BP= 108/68 mmHg Oxygen Sat = 98% (21/12/64)
ผู้ป่วยชายไทย นอนอยู่บนเตียง ลักษณะผอมซูบ ผู้ป่วยลืมตา การมองเห็นปกติ มีแผลการใส่สายระบายทรวงอกบริเวณซี่โครงขวา กะโหลกศีรษะสมมาตรดี รูปร่างซูบผอม ระดับความรู้สึกตัว Glasgow coma score = E4M6V5 ถามตอบรู้เรื่อง ช่วยเหลือตนเองได้บนเตียง หายใจ On oxygen cannula 2 LPM ไม่มีหอบเหนื่อย On ICD 2 ขวด Rt.Chest no bleeding ไม่มีเลือดซึม มีแผล top ปอด ปิด gauze มีไม่เลือดซึม on injection plug บริเวณแขน ไม่มี Phlebitis ปัสสาวะ สีเหลืองเข้มสัญญาณชีพ V/S T= 36.2 องศาเซลเซียส HR=116 ครั้ง/นาที RR = 20 ครั้ง/นาที BP= 113/79 mmHg Oxygen Sat = 97% (20/12/64)
ผลตรวจทางห้องปฎิบัติการและผลตรวจพิเศษ
18/12/64
Bun=11.0 mg/dL (8.9-20.6 mg/dL)
Creatinine= 0.73 mg/dL( 0.73-1.18 mg/dL)
LDH 371 U/L (สูงกว่าปกติ)
Protin =5.35
LDH= 297
โลหิตวิทยา 18/12/64
CBC(18/12/64)
Hct = 42.9% (38.2-43.3%)
WBC = 9.48 10^3/uL(4.24-10.18 10^3/uL )
Neutrophil = 80.9% (48.2-71.2%)
Lymphocyte = 12.4% (21.1-42.7 %)
Hb=12.8 g/dL
Platelet Count = 271 10^3/uL
Coaugalation test(18/12/64)
INR = 1.12 (0.88-1.11 วินาที)
PT = 13.1(10.3-12.8 วินาที)
Coaugalation test(22/12/64)
D-Dimer 20,638 ng/mL FEU (0 - 550)
RDW 16.9 L g/dL % (11.8-15.2)
MCH 25.9 pg (25.9 - 33.4)
Hb 11.6 g/dL (12.8-16.1)
Nutrophil 80.2 % (48.2-71.2)
Lymphocyte 10.3 % (21.1-42.7)
Eosinophi 0.1 % (0.4-7.2)
MVP 7.4 fL (7.5-11.3)
เคมีคลีนิก
22/12/64
Creatinine 0.51 mg/dL (0.73-1.18)
Sodium 133 mmol/L (136 -145)
Co 36.3 mmol/L (22- 29)
Chloride 89 mmol/L (98-107)
ข้อวินิจฉัย
1.ผู้ป่วยมีภาวะพร่องออกซิเจน เนื่องจากปริมาณการแลกเปลี่ยนของก๊าซลดลง
วัตถุประสงค์ทางการพยาบาล
ผู้ป่วยไม่มีภาวะพร่องออกชิเจน
เกณฑ์การประเมินผล
2.ผู้ป่วยมีเสมหะลดลงผู้ป่วยไม่หายใจหอบเหนื่อย
3.02 saturation >94%
1.ผู้ป่วยไม่มีลักษณะของภาวะพร่องออกซิเจน เช่นปลายมือปลายเท้าเขียวหรือเย็น หรือมีหอบเหนื่อย
4.อัตราการหายใจ 12-24 ครั้ง/นาที
5.อัตราการเต้นของหัวใจ 60-100 ครั้ง/นาที
6.ความดันโลหิต 130-90/90-60
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินความรุนแรงของอาการของภาวะพร่องออกซิเจนในผู้ป่วยวัดoxygen saturation และสังเกตอาการเหนื่อยหอบ
4.ดูแลจัดท่านอนศีรษะสูง 45 องศาเพื่อให้ปอดขยายตัวได้ดี
5.ดูแลสายใส่ระบายทรวงอก
1.จัดขวดให้อยู่ต่ำกว่าตัวผู้ป่วย 2-3 ฟุต
2.ดูแลสายไม่ให้หัก พับ งอ ห้อยหย่อน หรืออุดตัน
3.สังเกตการกระเพื่อมขึ้นลงของน้ำในแท่งแก้ว
5.ปลายหลอดแก้วต้องอยู่ใต้น้ำ 2 cm
6.ดูแลตำแหน่งของแผลและลักษณะของสารคัดหลั่งที่ออกมาจากปอด
สี
ปริมาณ
ชนิดของสารคัดหลั่ง
7.ระวังการเลื่อนหลุดของสายหรือการแตกของขวด
4.ใส่น้ำในขวดแก้ว 400 ml
4.ดูแลให้ได้รับยา MYSOVEN 200 MG. GRANULE ACETYLCYSTEINE 200 MG. GRANULE 1 ซอง ละลายน้ำ 1 แก้ว ดื่มวันละ 2 ครั้ง หลังอาหารเช้า เย็น
2.ดูแลให้ได้รับ Oxygen cannula 2 L/min keep sat >94%
3.เมื่อคนไข้หายใจเหนื่อยหอบมากขึ้นจนทนไม่ไหว ให้นำ Oxygen mask มาใส่ให้ผู้ป่วยและให้ ออกซิเจน 11 L/min
5.สังเกตอาการที่บ่งบอกภาวะแทรกซ้อน เช่น ปวด บวม แดง ร้อน
ข้อมูลสนับสนุน
1.ผู้ป่วยมีพยาธิสภาพของโรคมะเร็งปอด
2.ผู้ป่วยหายใจหอบเหนื่อย
3.ผู้ป่วยมีอัตราการหายใจ 116 ครั้ง/นาที(60-100)
4.ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดสูง
5.ผู้ป่วยมีออกซิเจน sat 90 %
การประเมิณผลการพยาบาล
ผู้ป่วย Oxyen saturation >99
ผู้ป่วยไม่มีอาการเหนื่อยหอบ
ผู้ป่วยนอนราบได้
2.ผู้ป่วยไม่สามารถเผชิญปัญหาได้อย่างเหมาะสมเนื่องจากไม่เข้าใจเกี่ยวกับโรค
ข้อมูลสนับสนุน
SD
ผู้ป่วยไม่กล้ากินน้ำเนื่องจากกลัวว่าอาการน้ำในเยื่อหุ้มปอดจะรุนแรง
OD
ผู้ป่วยสอบถามว่ายาที่ให้กินคือยาอะไร
ผู้ป่วยบอกว่าตนเองเป็นภาวะน้ำท่วมปอด
ผู้ป่วยมีสีหน้ากังวลเวลาทำการพยาบาลต่างๆ
ผู้ป่วยสงสัยแต่ไม่กล้าถามแพทย์
วัตถุประสงค์
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยสามารถเผชิญกับความเจ็บป่วยได้ด้อย่างเหมาะสม
เกณฑ์การประเมิณผล
อธิบายเกี่ยวกับโรค วิธีการรักษา และการปฎิบัติตนที่ถูกต้องได้
กิจกรรมการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย
สังเกตพฤติกรรม สีหน้า ท่าทางของผู้ป่วยว่าสงสัยเวลสให้การพยาบาลไหม
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยซักถามเกี่ยวกับโรคและการรักษาพยาบาล
อธิบายให้ผู้ป่วยได้ทราบเกี่ยวกับโรค แผนการรักษาพยาบาลตามความเหมาะสมและแนะนำการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องกับสภาวะของโรค
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยและญาติซักถามในสิ่งที่สงสัยและยังไม่เข้าใจ
6.หลีกเลี่ยงการพูดคุยในสิ่งที่ทำให้ผู้ป่วยเกิดความวิตกกังวล
7.ให้ยาLORAZEPAMตามแผนการักษา
4.ผู้ป่วยไม่สุขสบายเนื่องจากเป็นมะเร็งระยะสุดท้าย
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยมีพยาธิสภาพของโรคมะเร็งปอด Stage 4
ผู้ป่วยบอกว่าหายใจเหนื่อยหอบ
ผู้ป่วยไม่ได้โทรคุุยกับครอบครัวเพราะพูดแล้วเหนื่อย
ผู้ป่วยบอกว่าไม่กล้าหลับกลัวไม่ตื่น
วัตถุประสงค์
ผู้ป่วยและญาติได้รับการดูแลแบบองค์รวม คือ คำนึงสุขภาพ กาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ
ผู้ป่วยมีความเจ็บปวดและทุกข์ทรมาณน้อยที่สุด
ผู้ป่วยและญาติได้วางแผนล่วงหน้าเกี่ยวกับการฟื้นชีวิต
เกณฑ์การประเมิณผล
ผู้ป่วยไม่มีสีหน้าหรืออาการที่บ่งบอกถึงความเจ็บปวด
สีหน้าสดชื่น
มีปฎิสัมพันธ์กับบุคคลและสนใจสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมทางการพยาบาล
1.สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย
2.รับฟังปัญหา พยายามทำความเข้าใจผู้ป่วย และแสดงถึงความเข้าอกเข้าใจ
3.ประเมินความเจ็บปวด และบรรเทาอาการปวดตามแผนการรักษา รวมทั้งอาการต่างๆ ที่ทำให้เกิดความทุกข์ทรมาน
4.ดูแลความสะอาด ความสุขสบาย จัดสภาพแวดล้อมเพื่อให้ให้ผู้ป่วยผ่อนคลาย พักผ่อนได้
5.ดูแลเรื่องอาหาร ให้รับประทานแต่พอเหมาะ เนื่องจากผู้ป่วยระยะนี้ร่างกายใช้พลังงานน้อย เมื่อผู้ป่วยไม่อยากอาหาร การพยาบาลให้ฝืนใจรับประทาน จะทำให้ผู้ป่วยรู้สึกอึดอัด เครียด รู้สึกผิด ผู้ป่วยระยะนี้มักมีอาการปากและคอแห้ง ควรป้อนน้ำให้รู้สึกชุ่มชื่น
6.ให้ความมั่นใจว่าจะไม่ทอดทิ้ง และอยู่เคียงข้างผู้ป่วยจนถึงที่สุด ด้วยการสัมผัสอย่างอ่อนโยน
3.หมดความภาคภูมิใจในตนเองเนื่องจากต้องพึ่งพาคนอื่น
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยไม่กล้าถ่ายอุจจาระเนื่องจากไม่เคยใช้ผ้าอ้อมสำเร็จรูป
ผู้ป่วยพูดว่าตั้งแต่เกิดมาเพื่งเคยต้องให้คนอื่นมาดูแลมากขนาดนี้
ผู้ป่วยมีสีหน้ากังวลตอนพูดเรื่องการถ่ายอุจจาระ
วัตถุประสงค์
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่ามากขึ้น
เกณฑ์การประเมิณผล
ผู้ป่วยกล้าเอ่ยปากขอให้พยาบาลป่วย
ผู้ป่วยพูดคุยกับเจ้าหน้าที่ทีมสุขภาพมากขึ้น
ผู้ป่วยถ่ายอุจจาระ
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินความรู้สึก การแสดงออกของผู้ป่วยทั้งคำพูดและพฤติกรรม
บอกผู้ป่วยทุกครั้งเมื่อจะทำอะไรให้ผู้ป่วย
พูดกับผู้ป่วยด้วยความนุ่มนวลอ่อนโยน และรับฟังผู้ป่วย เมื่อผู้ป่วยต้องการพูด ไม่แสดงที่ท่าเร่งรีบ หรือรังเกียจ
ไม่ตำหนิผู้ป่วยเมื่อผู้ป่วยทำอะไรผิดพลาด
ให้กำลังใจผู้ป่วย พูดให้ผู้ป่วยเห็นความสามารถของตนเอง
ส่งเสริมสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว ช่วยให้ผู้ป่วยได้พูดคุยกับครอบครัว
1.สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับคนไข้
พยาธิสรีรวิทยา
มะเร็งปอด
มะเร็งปอดแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆ 2 ชนิด คือ ชนิดเซลล์ขนาดเล็ก (small cell lung cancer) และชนิดเซลล์ที่ขนาดไม่เล็ก(non-small cell lung cancer) ซึ่งในกลุ่มหลังนี้พบได้85% ของมะเร็ง ปอดทั้งหมด และในกลุ่มนี้ยังมีแยกย่อยออกเป็นชนิดต่างๆ อีกหลายชนิด เช่น squamous cellcarcinoma, adenocarcinoma และอื่นๆ กลุ่มที่เป็นadenocarcinoma
ชนิดที่ 1. มะเร็งปอดชนิดไม่ใช่เซลล์เล็ก (NSCLC: Non-SmallCell Lung Cancer)
มะเร็งปอดประเภทนี่เป็นมะเร็งปอดชนิดที่พบบ่อยที่สุดซึ่งคิดเป็นประมาณ 85%ของผู้ป่วย เซลล์มะเร็งชนิดนี้จะแพร่กระจายได้ช้ากว่า เซลล์มะเร็งปอดประเภทที่ 2 มะเร็งปอดประเภทนี้ยังแบ่งได้อีกเป็นหลายชนิด ได้แก่
1.1 มะเร็งปอดของเชลล์ต่อมสร้างเมือกในเยื่อบุหลอดลมที่พบประมาณ 40% มะเร็งปอดชนิดนี้ได้รับการวินิจฉัยมากที่สุดในผู้สูบบุหรี่ในปัจจุบัน แต่ก็สามารถพบได้ในผู้ไม่สูบบุหรี่เช่นกัน
1.2 มะเร็งปอดชนิด squamous cell ซึ่งมักเกิดขึ้นในทางเดินหายใจส่วนต้นของปอด
1.3 มะเร็งปอดชนิดเซลล์ใหญ่ มักปรากฎในลักษณะของเซลล์ที่ไม่มีวิวัฒนาการ (undifferentiated) และสามารถเกิดขึ้น ในส่วนใดส่วนหนึ่งของปอดก็ได้โดยไม่แสดงลักษณะตำแหน่งที่จำเพาะ
ชนิดที่ 2 มะเร็งปอดชนิดเซลล์เล็ก
(SCLC: Small Cell LungCancer)มะเร็งปอดชนิดเซลล์เล็กมักจะเกิดขึ้นในส่วนกลางของหลอดลมและแพร่กระจายได้เร็วกว่ามะเร็งปอดที่ไม่ใช่เซลล์เล็ก ทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้อย่างรวดเร็ว พบได้ประมาณ 15% ของมะเร็งปอดทั้งหมดมีได้หลากหลายรูปแบบ ได้แก่ หายใจถี่และหายใจไม่ออก การมีเสียงแหบมีได้หลากหลายรูปแบบ ได้แก่ หายใจถี่และหายใจไม่ออก การมีเสียงแหบหรือมีอาการเหนื่อยง่าย อ่อนแรงเป็นต้น
ภาวะลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอด(pneumothorax )
การเกิดลมในโพรงเยื่อหุ้มปอดที่เกิดขึ้นเองแบบปฐมภูมิเกิดจากมีลมรั่วจากปอดเข้าไปในโพรงเยื่อหุ้มปอด เนื่องจากถุงเล็ก ๆหรือถุงใหญ่ที่อยู่ใต้เยื่อหุ้มปอดในบริเวณรอบปอดแตกออก ลมจะเข้าไปในโพรงเยื่อหุ้มปอดจนกระทั่งปอดแฟบและความดันในโพรงเยื่อหุ้มปอดเท่ากับความดัน ปอดกลีบบนจะเกิดพยาธิสภาพก่อน เนื่องจากความดันในปอดบริเวณนี้สูงกว่าบริเวณฐานของปอด จากการตรวจดูพยาธิสภาพที่ปอดพบว่าที่ยอดปอดมีถุงลมพองใหญ่กว่าบริเวณปอดส่วนล่าง ผู้ป่วยอาจเกิดจากถุงซึ่งเป็นมาแต่กำเนิดหรือเยื่อหุ้มปอดบางมาก การขาดโลหิตเฉพาะส่วนยอดปอด ทำให้เกิดการสึกหรอของผนังถุงลมบริเวณพื้นผิวของปอด ภาวะกระทบกระถุงลมอุดตันร่วมกับการเพิ่มความดันลมรั่วเซาะเข้าไปในผนังเยื่อหุ้มปอด ทำให้เกิดถุงลมเล็ก ๆ ขึ้นของบรรยากาศ ได้เยื่อหุ้มปอด เมื่องลมเล็กๆ โตและแตกเกิดเป็นลิ้นทางเดียว ทำให้มีลมในโพรงเยื่อหุ้มปอดผิวหนังได้ลมที่รั่วออกมาอาจถูกดูดซึมได้เองช้าๆ โดยเฉลี่ยประมาณ 4 สัปดาห์ และส่วนใหญ่จะมีการรั่วซ้ำอีก ผู้ป่วยที่เกิดภาวะมีลมในโพรงเยื่อหุ้มปอดแบปฐมภูมิ มักจะเกิดอาการช้ำได้หลายครั้งจากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ทำให้การรักษาในปัจจุบันโน้มเอียงไปทางศัลยกรรมมากกว่าที่จะปล่อยให้หายเอง ภาวะมีลมในโพรงเยื่อหุ้มปอดที่เกิดขึ้นเองแบบทุติยภูมิ คือ เป็นโรคอื่นอยู่เดิมแล้วพบอุบัติการณ์น้อยกว่าชนิดแรก พบในคนอายุ 40 ปีขึ้นไป สาเหตุที่ทำให้เกิด ได้แก่ ถุงลมโป่งพองเรื้อรัง วัณโรคปอดระยะรุนแรง เนื้อปอดเป็นพังผืด หอบหืด มะเร็งปอด เนื้อปอดตาย เยื่อหุ้มปอดอักเสบ มีหนองในโพรงเยื่อหุ้มปอด ผีใต้กะบังลม การมีลมในโพรงเยื่อหุ้มปอดชนิดเกิดขึ้นเองซึ่งเกิดในถุงลมพองและหลอดลมอักเสบเรื้อรั้งนั้น มีอันตรายมากกว่าเนื่องจากมีการหายใจไม่เพียงพออย่างเฉียบพลันรองลงมา ได้แก่ ภาวะมีในโพรงเยื่อหุ้มปอดชนิดไม่มีทางติดต่อกับอากาศภายนอก (Closed pneumothorax)ร่วมกับปอดบวมเนื่องจากเชื้อ Staphylococcus
พยาธิสภาพของโรคกับผู้ป่วย
ถุงลมหรือแขนงหลอดลมเกิดการฉีกขาดแตกทะลุจากพยาธิสภาพของ มะเร็งปอด ระยะที่ 4 ที่กระจายไปทั่วปอดจนเกิด malignant plrural effusion อากาศที่อยู่ในถุงลมและแขนงหลอดลม จะไหลเข้าสู่โพรงเยื่งหุ้มปอด เมื่อมีอากาศในโพรงเยื่อหุ้มปอด จึงมีความกดดันอากาศเกิดขึ้น (เป็นบวก) ปอดจึงไม่สามารถขยายตัวได้เท่าปกติ ทำให้อากาศจากภายนอกจากการหายใจ ไหลเข้าสู่ปอดได้ไม่เต็มที่ การแลกเปลี่ยนก๊าซของปอดก็ลดลงเป็นผลให้ผู้ป่วยเกิดอาการขึ้นมา ยิ่งมีปริมาณอากาศที่เข้าไปอยู่ในโพรงเยื่อหุ้มปอดมาก ยิ่งทำให้ปอดขยายตัวได้น้อย ผู้ป่วยก็จะมีอาการมากขึ้นด้วย อากาศที่ไหลเข้าสู่โพรงเยื่อหุ้มปอดจะหยุดไหลเมื่อความกดดันอากาศภายในโพรงเยื่อหุ้มปอดเท่ากับภายนอกร่างกาย หรือภายในทางเดินหายใจของปอดแต่หากช่องทางเข้าของอากาศมีลักษณะเหมือนลิ้นที่ปิดเปิดทางด้านเดียว อากาศก็จะไหลเข้าสู่โพรงเยื่อหุ้มปอดอย่างต่อเนื่องโดยไม่มีการ ไหลออกของอากาศเลย ความกดดันของอากาศในโพรงเยื่อหุ้มปอดก็จะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนมีความกดดันมากกว่าอากาศภายในทางเดินหายใจของปอดปอดก็จะไม่สามารถขยายตัวเมื่อเราหายใจเข้าได้เลย จนเกิดภาวะ Secondary Spontaneous Pneumothorax
ยาที่ผู้ป่วยได้รับ
FERROUS FUMARATE 200 MG. TAB.. รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเช้าทานยาห่างจากแคลเซียม นม ยาลดกรด อย่างน้อย 2 ชม
ข้อบ่งใช้เสริมธาตุเหล็กป้องกันการขาดธาตุเหล็ก กลไกการออกฤทธิ์
อาการข้างเคียง การรับประทานยานี้ อาจทำให้มีอุจจาระสีดำซึ่งเป็นสีของยา ไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย ยานี้อาจทำให้ผู้ป่วยเกิดอาการท้องผูก คลื่นไส้ ปวดท้อง ท้องเสีย หรือมีอาเจียน ยานี้อาจทำให้มีปัสสาวะเปลี่ยนสีได้
LORAZEPAM 1 MG. TAB.รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
ข้อบ่งใช้
ตัวยาจะออกฤทธิ์กับระบบประสาทส่วนกลาง ใช้รักษาอาการนอนไม่
หลับหรือที่เรียกว่ายานอนหลับนอกจากนี้ยังสามารถใช้รักษาโรควิตกกังวล เพราะตัวยามีฤทธิ์ช่วยให้ผ่อนคลาย
กลไกการออกฤทธิ์การออกฤทธิ์ของยาLorazepam
ตัวยาจะไปยับยั้งการทำงานของสารสื่อประสาทที่เรียกว่า GABAซึ่งเป็นตัวที่ทำให้ร่างกายตื่นตัว เมื่อทานแล้วจะทำให้ลดความกังวล ผ่อนคลายนอนหลับได้ คลายกล้ามเนื้อ
ผลข้างเคียง
เมื่อทานแล้วอาจทำให้มีอาการง่วงซึมจึงห้ามขับรถหรือทำกิจกรรมเสี่ยงอันตราย รวมถึงห้ามรับประทานร่วมกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จะทำให้อาการง่วงซึมรุนแรงได้
MYSOVEN 200 MG. GRANULE
ACETYLCYSTEINE 200 MG. GRANULE
1 ซอง ละลายน้ำ 1 แก้ว ดื่มวันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร
เช้า เย็น
ข้อบ่งใช้
ใช้สำหรับละลายเสมหะ ยาในรูปแบบยารับประทานสำหรับแก้พิษของยาพาราเซตามอล
กลไกการออกฤทธิ์เป็นยาในกลุ่มยาละลายเสมหะ ออกฤทธิ์โดยในโครงสร้างของอะเซทิลซิสเทอีน มีหมู่ซัลไฮดริลอิสระเป็นองค์ประกอบ ซึ่งสามารถเปิดพันธะไดซัลไฟด์ของมิวโคโปรตีน (Mucoprotein) ของเสมหะ ส่งผลให้ความข้นหนืดของเสมหะลดลง
ผลข้างเคียง เป็นหวัด น้ำมูกไหล ผิวหนังเนื้อตัวเย็นชืด ง่วงนอน มีไข้ มีอาการอักเสบระคายเคืองบริเวณปาก หรือ ลิ้นคลื่นไส้ อาเจียน
Problem list
ผู้ป่วย Na ต่ำ
ปากแห้ง,คอแห้ง
คลื่นไส้อาเจียน
ปวดแผลผ่าตัด
ไม่กล้าถ่ายอุจจาระเนื่องจากไม่คุ้นชิน
ต้องการ