Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยเตียง 24 วอร์ด มภร.10/1 DX. Lt. Pleural effusion รับไว้ 17…
ผู้ป่วยเตียง 24 วอร์ด มภร.10/1
DX. Lt. Pleural effusion
รับไว้ 17 ธันวาคม พ.ศ.2564
ประวัติผู้ป่วย
อาการสำคัญ
ไข้สูง เจ็บหน้าอก หายใจไม่ออก 1 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล
Admit วันที่ 17 ธ.ค.2564 (17.50 น.)
อาการปัจจุบัน
(19/12/64)
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 39 ปี รู้สึกตัวดี มีตาตัวเหลือง ผิวสีแทน ศีรษะและใบหน้าสมมาตร ตาทั้ง 2 ข้างมองเห็นปกติ ใบหูทั้ง 2 ข้างมีการเจาะหู กว้างประมาณ 1 เซนติเมตร จมูกสามารถรับกลิ่นได้ปกติ หายใจเหนื่อยหอบ ไอมีเสมหะ ริมฝีปากและลิ้นไม่มีแผล ลิ้นสามารถรับรสได้ รับประทานอาหารธรรมดา Neuro signs E4V5M6, pupil 3 mm. RTLBE สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันเองได้ หลังมือซ้าย on injection plug มีรอยสักบริเวณอกด้านซ้ายและหลัง บริเวณกลางหลังเยื้องไปทางซ้ายมีแผลจากการทำหัตถการ(เจาะระบายน้ำที่ปอดด้านซ้าย) Respiratory system พบ Dullness on percussion (เคาะทึบ) และ Decrease breath sound (เสียงหายใจเบากว่าปกติ) สามารถปัสสาวะได้เอง ปัสสาวะวันละ 4 ครั้ง สีเหลืองเข็ม อุจจาระ 2-3วัน 1ครั้ง Vital signs (19/12/64 เวลา 06.00 น.) BT=36.4 PR=86 RR=18 BP=122/76 O2 sat=99% Pain score=0
(20/12/64)
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 39 ปี รู้สึกตัวดี ผิวสีแทน ศีรษะและใบหน้าสมมาตร ตาทั้ง 2 ข้างมองเห็นปกติ ใบหูทั้ง 2 ข้างมีการเจาะหู กว้างประมาณ 1 เซนติเมตร จมูกสามารถรับกลิ่นได้ปกติ หายใจ Room air หายใจไม่เหนื่อยหอบ ไอมีเสมหะ ริมฝีปากและลิ้นไม่มีแผล ลิ้นสามารถรับรสได้ รับประทานอาหารธรรมดา Neuro signs E4V5M6, pupil 3 mm. RTLBE สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันเองได้ หลังมือซ้าย on injection plug มีรอยสักบริเวณอกด้านซ้ายและหลัง บริเวณกลางหลังเยื้องไปทางซ้ายมีแผลจากการทำหัตถการ(เจาะระบายน้ำที่ปอดด้านซ้าย) Respiratory system พบ Dullness on percussion (เคาะทึบ) และ Decrease breath sound (เสียงหายใจเบากว่าปกติ) ฟังเสียงCrepitation (ไม่ได้ตรวจ)สามารถปัสสาวะได้เอง ปัสสาวะวันละ 7 ครั้ง สีเหลืองเข็ม อุจจาระ 2-3วัน 1ครั้ง Vital signs (20/12/64 เวลา 06.00 น.) BT=36.1 PR=100 RR=18 BP=127/77 O2 sat=99% Pain score=0
(21/12/2564)
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 39 ปี รู้สึกตัวดี ผิวสีแทน มีอาการไอ ศีรษะและใบหน้าสมมาตร ตาทั้ง 2 ข้างมองเห็นปกติ ใบหูทั้ง 2 ข้างมีการเจาะหู กว้างประมาณ 1 เซนติเมตร จมูกสามารถรับกลิ่นได้ปกติ Respiratory System หายใจ Room air ไม่เหนื่อยหอบ ฟังเสียงปอดโดยให้ผู้ป่วยหายใจเข้าลึกๆ และฟังเปรียบเทียบกันทั้ง 2 ข้าง จะได้ยินเสียง Crepitation (ไม่ได้ตรวจ) , Breath sound(ไม่ได้ตรวจ), Vocal Resonance (ไม่ได้ตรวจ)ริมฝีปากและลิ้นไม่มีแผล ลิ้นสามารถรับรสได้ รับประทานอาหารธรรมดา Neuro signs E4V5M6, pupil 3 mm. RTLBE สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันเองได้ มีรอยสักบริเวณอกด้านซ้ายและหลัง แผลจากการเจาะปอดแห้งมีสะเก็ดดี ไม่มีbleedซึม สามารถปัสสาวะได้เอง ปัสสาวะวันละ 7 ครั้ง สีเหลืองเข็ม อุจจาระ 1 ครั้ง Vital signs (21/12/64 เวลา 06.00 น.) BT=37.1 PR=94 RR=18 BP=145/77 O2 sat=99% Pain score=0
ประวัติเจ็บป่วยในปัจจุบัน
1 เดือน ก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการไข้สูงกลางคืน ไอ เหนื่อย น้ำหนักลด คอแห้ง นอนหนาวสั่น เหงื่อแตก ห่มผ้าห่มหลายชั้น มีเสมหะเวลาไอ ก่อนหน้านี้ไปรักษาที่คลินิกทานยาฆ่าเชื้อไม่ทราบชื่อ ได้ยามา 6 เม็ด ทานวันละ 2 เม็ด แล้วอาการเจ็บหน้าอกดีขึ้น ทานไปครบ 6 เม็ด ลักษณะการเจ็บแบบแปลบมากจนเมื่อจามต้องหยุดจาม
ประวัติเจ็บป่วยในอดีต
ติดเชื้อไวรัส โควิด-19 เมื่อเดือนตุลาคม 2564
สูบบุหรี่ มาแล้ว 25 ปี ประมาณวันละ 15-20 มวน
งดสูบมาเป็นเวลา 1 เดือน ตั้งแต่เริ่มมีไข้ทุกวัน หายใจไม่ออก เจ็บหน้าอก มีการดื่มสุราบ้างแล้วแต่โอกาส
การตรวจพิเศษ
EKG 12 lead at ER
CXR PA หาค่าน้ำในปอด
Sputum AFB x 3 วัน (18-20/12/2564)
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการและผลตรวจพิเศษ
โลหิตวิทยา
CBC
17/12/2564
Hb = 12.6 g/dL (12.8-16.1 g/dL) ต่ำกว่าปกติ อาจเกิดการเสียเลือด
Hct = 37.7% (38.2 - 48.3%) ต่ำกว่าปกติ เนื้อเยื่ออาจได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
Lymphocyte = 20.7% (21.1-42.7) ต่ำกว่าปกติ อาจเกิดการติดเชื้อ
Platelet Count = 635 10^3/uL สูงกว่าปกติ อาจเกิดเลือดเเข็งตัวผิดปกติ
เคมีคลินิก
17/122564
LDH = 349 U/L (125-220 U/L)
*Sodium(NA) 135 mmol/L (136-145 mmol/L)
Globulin = 4.7 g/dL (2.7-35 g/dL)
CO2 = 20.8 mmol/L (22-29 mmol/L)
*AST(SGOT) =181 U/L (5.0-34.0 U/L)
*ALT(SGPT) = QT4 U/L (0.0-55.0 U/L)
19/12/64
*ALT(SGPT) = 214 U/L (0.0-55.0 U/L)สูงกว่าปกติ ตับอาจทำงานผิกปกติ
*AST(SGOT) = 167 U/L (5.0-34.0 U/L) สูงกว่าปกติ ตับอาจทำงานผิดปกติ
Albumin = 3.2 g/dL (3.5-5.2 g/dL) ต่ำ ผู้ป่วยอาจมีภาวะตับแข็ง
Globurin = 4.1 g/dL (2.7-3.5 g/dL)
21/12/64
Globulin 4.4 g/dL (2.7-3.5 g/dL) สูงกว่าปกติ ตับอาจทำงานผิดปกติ
*AST(SGOT) 85 U/L (5.0-34.0 U/L) สูงกว่าปกติ ตับอาจทำงานผิดปกติ
*ALT(SGPT) 176 U/L (0.0-55.0 U/L) สูงกว่าปกติ ตับอาจจะทำงานปกติ
Ploblem liist
AST 181 , ALT 154สูงกว่าค่ามาตรฐาน ตับทำงานผิดปกติ
วิตกกังวลเกี่ยวกับโรคที่เป็น
ค่า electrolyte Na , CO2 ต่ำ
อาจเกิดภาวะพร่อง O2 เนื่องจากพยาธิสภาพของโรค
ผู้ป่วยหายใจเหนื่อยหอบ เจ็บหน้าอก
ผล Lab ADA / TB Pleural ผลมีภาวะติดเชื้อ TB lymnode
มีเสมหะเวลาไอ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
อาจเกิดภาวะพร่องออกซิเจนจากการมีสารน้ำในเยื่อหุ้มปอดเนื่องจากมีการติดเชื้อ( Tuberculosis )
ข้อมูลสนับสนุน
OD
ผู้ป่วยหายใจเหนื่อยหอบ
SD
ผู้ป่วยบอกว่ามีอาการเจ็บแปลบที่หน้าอก
เวลาหายใจเข้า
OD
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการCXRPaหาน้ำในปอด
พบ opacity ขนาด 1/3-1/2 ของ hemiithorax
OD
ผลการตรวจร่างกายพบว่า เคาะทึบ (dullness on percussion )และ Decreased breath sound
Globulin = 4.1 g/dL (2.7 - 3.5 g/dL)
AST(SGOT) = 167 U/L (5.0-34.0 U/L)
ALT(SGPT) = 214 U/L (0.0-55.0 U/L)
สูงกว่าปกติ ตับมีการทำงานผิดปกติ
ADA 136 U/L (40-60 U/L) คือเกิดการอักเสบที่เยื่อหุ้มปอดเนื่องจากติดเชื้อวัณโรค (Tuberculosis)
วัตถุประสงค์
ป้องกันการเกิดภาวะพร่องออกซิเจน
จากการมีสารน้ำในเยื่อหุ้มปอดเนื่องจากติดเชื้อ TB lymnode
เกณฑ์การประเมินผล
ลักษณะหายใจปกติไม่มีอาการเหนื่อยหอบ
อาการเจ็บแปลบที่หน้าอกขณะหายใจลดลง
ผล Chest x-ray ทางห้องปฏิบัติการ ปกติ
Globulin =(2.7 - 3.5 g/dL)
AST(SGOT) =(5.0-34.0 U/L)
ALT(SGPT) = (0.0-55.0 U/L)
ค่าลดลงหรืออยู่ในเกณฑ์ปกติ
ADA =(40-60 U/L) ค่าลดลงหรืออยู่ในเกณฑ์ปกติ
กิจกรรมการพยาบาล
Record vital signs ทุก 4 ชม.
ประเมินการหายใจเพื่อป้องกันความรุนแรงของโรค
สังเกตอาการของการมีน้ำเพิ่มขึ้นในเยื่อหุ้มปอด
เช่น มีอาการเหนื่อยหอบ หรือเจ็บหน้าอกแบบเสียวแปลบขณะหายใจเข้ามากขึ้น
ฝึกให้ผู้ป่วยบริหารการหายใจ (Deep breathing) เพื่อให้ปอดขยายตัวได้เต็มที่
ดูแลให้ผู้ป่วยพักผ่อนอย่างเพียงพอ โดยเฉพาะในระยะที่มีระดับtransaminase ขึ้นสูง
ดูแลผู้ป่วยให้นอนท่าศีรษะสูง (Fowler’s position)
ดูแลให้ได้รับยา Streptomycin 750 mg. IM OD อย่างต่อเนื่องตามแผนการรักษา
แนะนำให้ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ ตรวจเลือดดูเชื้อไวรัส และทดสอบการทำงานของตับ
Precautions ล้างมือ 5 moment สวมmask
การประเมินผลทางการพยาบาล
ผู้ป่วยไม่มีอาการหายใจหอบเหนื่อย หายใจได้ปกติ
อัตราการหายใจ 18 ครั้ง/นาที ไม่มีอารเจ็บหน้าอก
Globulin = 4.4 g/dL (2.7 - 3.5 g/dL)
AST(SGOT) = 85 U/L (5.0-34.0 U/L)
ALT(SGPT) = 176 U/L (0.0-55.0 U/L)
ค่าลดลงจากเดิม แต่ยังคงสูงกว่าค่าปกติ
ADA 136 U/L (40-60 U/L) คือเกิดการอักเสบที่เยื่อหุ้มปอดเนื่องจากติดเชื้อวัณโรค (Tuberculosis lymnode)
มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับโรคที่เป็น เนื่องจากไม่ทราบแผนการรักษา
ข้อมูลสนับสนุน
SD : ผู้ป่วยบอกว่ากลัวรักษาไม่หาย กลัวต้องเจาะปอดเรื่อยๆ
SD : ผู้ป่วยบอกว่าไม่รู้ว่าวันนี้ หรือวันน่อ ๆ ไป ต้องทำอะไรบ้าง
OD : มีสีหน้าวิตกกังวลไม่ยิ้มแย้ม
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ป่วยคลายความวิตกกังวล
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยบอกว่ามีความวิตกกังวลลดลง
ผู้ป่วยเข้าใจสภาพความเจ็บป่วย
และขั้นตอนแผนการรักษาเป็นอย่างดี
ผู้ป่วยให้ความร่วมมือกับแผนการรักษา
กิจกรรมการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย เพื่อลดช่องว่างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลระหว่างพยาบาล คนไข้และหมอ ให้ผู้ป่วยรู้สึกผ่อนคลายจากความกังวล
2.สังเกตพฤติกรรม สีหน้า ท่าทางขณะทำการซักถามผู้ป่วย
เพื่อประเมินภาวะวิตกกังวลของผู้ป่วย
3.เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก ความกังวลเกี่ยวกับโรคที่เป็น
4.อธิบายแผนการรักษาให้กับผู้ป่วยเข้าใจ ว่าต้องเตรียมตัวทำอะไรบ้างในแต่ละวัน คนไข้จะได้มีความพร้อมกับแผนการรักษาวันนั้น ๆ
5.ให้กำลังใจ และแสดงออกถึงความเห็นใจโดยการรับฟังปัญหาของผู้ป่วยด้วยความเข้าใจ
การประเมินผลทางการพยาบาล
1.ผู้ป่วยสามารถอธิบายแผนการรักษาได้และเข้าใจ
สภาพของตนเองได้ดี
2.ผู้ป่วยไม่แสดงความวิตกกังวล
:
ยิ้มแย้ม แจ่มใส
ผู้ป่วยพูดคุยได้มากขึ้น ให้ความร่วมมือ และมีส่วนร่วมในแผนการรักษาพยาบาล พยายามปฏิบัติตัวตามคำแนะนำ
ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดโรคกลับซ้ำอีกเมื่อกลับมาอยู่บ้านเนื่องจากขาดความรู้ในการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง
ข้อมูลสนับสนุน
SD : ผู้ป่วยบอกว่าไม่ทราบว่าจะ
ปฏิบัติตัวอย่างไรเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
OD : ผู้ป่วยไม่ทราบว่าสาเหตุ
ของโรคที่เป็นอยู่ เกิดจากอะไร
วัตถุประสงค์
มีความรู้และสามารถดูแลตัวเองได้
ถูกต้องเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยตอบคำถามเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ได้ถูกต้องก่อนจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล
กิจกรรมการพยาบาล
วางแผนจำหน่ายผู้ป่วยกับบุคลากาลรทางด้านสุขภาพอื่นๆ
โดยมีการประเมินความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ป่วย
และญาติ รวมทั้งให้ครอบมีส่วนร่วมในการวางแผนการดูแลผู้ป่วยเมื่อกลับไปอยู่บ้านด้วย
ให้คำแนะนำผู้ป่วยรับยา Streptomycin 750 mg. IM OD อย่างสม่ำเสมอที่คลินิกหรือสถานีอนามัยใกล้บ้าน และบอกอาการข้างเคียงของยาคือ สูญเสียการได้ยิน หากมีอาการต้องรีบพบแพทย์เพื่อพิจารณาการเปลี่ยนยา
ให้ความรู้เกี่ยวกับวัณโรค (TB lymnode) ว่าเป็นสาเหตุของการเกิดภาวะน้ำในเยื่อหุ้มปอด รวมถึงการปฏิบัติตัวและการดูแลตนเอง อธิบายถึงสาเหตุและปัจจัยความเสี่ยง
แนะนำให้ผู้ป่วยสังเกตอาการของตนเอง เช่น หายใจหอบเหนื่อย เจ็บแปลบหน้าอก หากมีอาการดังกล่าวควรมาพบแพทย์ทันทีเพราะเป็นสัญญาณของการมีน้ำในเยื่อหุ้มช่องปอด
ย้ำให้ผู้ป่วยตระหนักถึงความสำคัญของการมาตรวจตามนัด เนื่องจาก Tuberculosis lymnode เป็นโรคเรื้อรัง (Chronic) ต้องรักษาติดตามอาการต่อเนื่อง
การประเมินผลทางการพยาบาล
ผู้ป่วยตั้งใจฟัง มีการซ้กถามข้อข้องใจ
และสามารถตอบคำถามเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว
และการดูแลตนเอง เมื่อกลับไปอยู่บ้านได้
ถูกต้องก่อนจำหน่ายออกโรงพยาบาล 1 วัน
ยาที่ผู้ป่วยได้รับ
Streptomycin 750 MG. IM OD
Streptomycin (สเตรปโตมัยซิน) เป็นรูปแบบของยาฉีด เป็นยาปฏิชีวนะกลุ่ม
อิมิโนไกลโคไซด์ (Aminoglycosides) ออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียชนิด aerobic gm-negative
แบะมีผลดีต่อ gm-positive Enterococcus และ Staphylococcus
กลไกล : Streptomycin เป็น aminoglycoside antibiotic ออกฤทธิ์ในการยับยั้งการสังเคราะห์ protein แบบ irreversible โดยที่ aminoglycoside จับกับ specific 30s subuint ribosomal protein (คือ s12) โดยที่
aminoglycoside ยับยั้งการสังเคราะห์ protein
อาการแพ้ยา
เช่น สูญเสียการได้ยิน ลมพิษ หายใจลำบาก หน้าบวม ริมฝีปากบาน ลิ้นบวม คอบวม มีผื่คัน ผิวหนังบวมแดง พุพอง ผิวลอกพร้อมกับมีไข้หรือไม่มีไข้ แน่นหน้าอกหรือลำคอ หายใจเสียงดัง มีปัญหาในการหายใจ หรือ
การพูดเสียงแหบ เป็นต้น
ไตผิดปกติ
ทำให้มีอาการปัสสาวะไม่ออก
ปริมาณปัสสาวะ เปลี่ยนแปลง ปัสสาวะมีเลือดปน
หรือมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
สับสน
เวียนศีรษะคล้ายจะหมดสติ
ปวดศีรษะ
กล้ามเนื้ออ่อนเเรง
อ่อนเพลียมาก
มีปัญหาในการทรงตัว
มีเสียงดังในหู
สูญเสียการได้ยิน (เป็นอาการสำคัญต้องเฝ้าระวัง)
มีอาการชาที่รู้สึกแสบหรือเหมือนมีเข็มที่ตามผิวหนัง
ท้องไส้ปั่นป่วนอาเจียน
มีปัญหาในการหายใจ หายใจช้า
หรือหายใจไม่อิ่ม
พยาธิสรีรวิทยา
พยาธิสรีรสภาพเทียบกับผู้ป่วย
ภาวะน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด คือภาวะที่มีมีของเหลว fluid ปริมาณมากเกินปกติ ในพื้นที่ระหว่างเยื่อหุ้มปอดและเยื่อหุ้มช่องอก โดยปริมาณน้ำที่มากขึ้นจะไปกดทับปอด ส่งผลให้ปอดขยายตัวได้ไม่เต็มที่ ซึ่งสาเหตุของผู้ป่วย เป็นการติดเชื้อวัณโรค (TB lymnode) จนเกิดของเหลวในช่องเยื่อหุ้มปอด
พยาธิสภาพ
ปริมาณของเหลวในโพรงเยื่อหุ้มปอดถูกควบคุมด้วย 2 กลไกสำคัญ
ความดันในหลอดเลือดของเยื่อหุ้มปอด
การดูดซึมของเหลวของระบบน้ำเหลือง
กลับเข้าสู่หลอดเลือดดำและร่างกาย
ปกติ ในโพรงเยื่อหุ้มหอดมีน้ำ
ปริมาณ 200-300 ml ขึ้นไป
การส่งสิ่งส่งตรวจ
18/12/64
ส่ง pleural fluid for ADA
19/12/64
LFT
20/12/64
HBSAg
Anti-HBS
Anti-HBC
Anti HCV
20/12/64
ตามผล ADA
ตามผล LFT เช้า
21/12/64
ผล ADA 136 U/L (40-60 U/L)
คือเกิดการอักเสบที่เยื่อหุ้มปอดเนื่องจาก
ติดเชื้อวัณโรค (Tuberculosis)
ผล LFT พบค่าสูงผิดปกติ 3 ตัว คือ
Globulin 4.4 g/dL (2.7-3.5 g/dL)
*AST(SGOT) 85 U/L (5.0-34.0 U/L)
*ALT(SGPT) 176 U/L (0.00-55.0)
การตรวจร่างกายตามระบบ
ทรวงอกและทางเดินหายใจ
ทรวงอกไม่เบี้ยว การเคลื่อนไหวเท่ากันทั้ง 2 ข้างหายใจเหนื่อยหอบใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องในการหายใจ มีอาการไอร่วมด้วย ไม่มีเสมหะ ฟังปอดจะได้ยินเสียง Decrease breath sound (เสียงหายใจเบาลง) และเสียงCrepitation อัตราการหายใจ 18 ครั้ง/นาที มีอาการเจ็บหรือแน่นหน้าอกเวลาหายใจเข้า
หลอดเลือดและหัวใจ
ผู้ป่วยมีไข้สูง หนาวสั่น แต่อัตราการเต้นของหัวใจปกติ 86 ครั้ง/นาที สม่ำเสมอดี เส้นเลือดดำ
ที่คอไม่โป้งพอง
ระบบประสาท
การรับรู้ปกติ พูดคุยรู้เรื่อง
กล้ามเนื้อและกระดูก
กล้ามเนื้อและกระดูกมีการเคลื่อนไหวปกติ กำลังแขน ขาปกติ กระดูกสันหลังตรง
ระบบทางเดินอาหาร
ผู้ป่วยไม่มีประวัติคลื่นไส้อาเจียนหลังจากทานอาหาร ไม่อาการมีจุกแน่นท้อง จากการตรวจ
คลำไม่พบก้อน ตาตัวไม่เหลือง กดไม่เจ็บ
ผิวหนังและเล็บ
ผิวหนังมีความตึงตัวดี มีรอยสักบริเวณหน้าอกขวาและทั่วแผ่นหลัง มีรอยแผลเจาะปอดที่หลัง ปิดgauzeไว้ เล็บมือและเล็บเท้าสะอาด
ศีรษะ
ผมสั้นตรงสะอาด หนังศีรษะไม่มีรังแค ผมดำหนากระจายทั่วศีรษะ กะโหลกศีรษะได้รูป
ใบหน้า
ใบหน้าเหมือนกันทั้ง 2 ข้างไม่มี Facial palsy
ตา
หนังตาไม่บวม ไม่ตก เปลือกตาไม่มีการอักเสบหรือก้อนบวม ลูกตาปกติ เยื่อบุตาไม่ซีด การเคลื่อนไหวของ
ลูกตาปกติ รูม่านตา 3 มม.ทั้งข้างซ้ายและข้างขวา มีปฏิกิริยาต่อแสงทั้ง 2 ข้าง
หู
การได้ยินหูทั้งสองข้างได้ยินชัดเจนดี เจาะหูเส้นผ่านศูนย์กลางกว้าง 1 เซนติเมตร
จมูก
รูปร่างปกติ ไม่มีน้ำมูกหรือสิ่งขับหลั่งออกจากจมูก กดบริเวณโพรงจมูกไม่เจ็บ
ระบบปัสสาวะ
ผู้ป่วยปัสสาวะ 2-3 ครั้งตอนกลางคืน
ระบบต่อมไร้ท่อ
จากการตรวจพบต่อมไทรอยด์ที่คอไม่โต ไม่เคยมีประวัติชักจากน้ำตาลในเลือดต่ำ
การประเมินสภาพจิตใจ
ผู้ป่วยรับรู้ว่าตนเองเจ็บป่วยด้วยโรคภาวะน้ำในเยื่อหุ้มปอดและต้องรับการรักษาในโรงพยาบาล
ไม่มีอาการหงุดหงิด มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับอาการที่เป็นอยู่แต่ให้ความร่วมมือในการรักษาพยาบาลดี
แผนการจำหน่ายผู้ป่วย เตียง 24
โดยใช้หลัก D-METHOD
D = Diagnosis
การให้ความรู้เกี่ยวกับโรค เเละสาเหตุของล
การเกิดโรคที่เป็นอยู่ อาการ และการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง
Lt.Pleural effusion
(ภาวะน้ำในเยื่อหุ้มปอด)
ภาวะน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด คือภาวะที่มีมีของเหลว fluid ปริมาณมากเกินปกติ ในพื้นที่ระหว่างเยื่อหุ้มปอดและเยื่อหุ้มช่องอก โดยปริมาณน้ำที่มากขึ้นจะไปกดทับปอด ส่งผลให้ปอดขยายตัวได้ไม่เต็มที่ ซึ่งสาเหตุของผู้ป่วย เป็นการติดเชื้อวัณโรค (TB lymnode) จนเกิดของเหลวในช่องเยื่อหุ้มปอด ซึ่งการติดเชื้อวัณโรคสามารถติดได้ง่ายจากสิ่งแวดล้อม และการมีพฤติกรรมเสี่ยง เช่น สักลายที่ร่างกาย สูบบุหรี่ เป็นต้น
สาเหตุ
ภาวะน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด เป็นภาวะแทรกซ้อนจากเยื่อหุ้มปอดอักเสบมักเกิดจากการติดเชื้อโรคในปอด หรือเชื้อแบคทีเรียอย่างวัณโรค(Tuberculosis TB is a bacterial infection spread)
อาการ
ไอมีเสมหะ
เจ็บหน้าอกขณะหายใจเข้าหรือไอ
หายใจเร็ว หายใจเหนื่อยหอบ หายใจลำบาก
มีไข้สูง เหงื่อออก หนาวสั่น
คลื่นไส้ อาเจียน หรือท้องเสียอ่อนเพลีย
การปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง
1.ไม่สูบบุหรี่ เนื่องจากบุหรี่จะไปทำลายกระบวนการป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจตามธรรมชาติของปอด
2.ดูแลสุขอนามัยส่วนตัว เช่น หมั่นล้างมือเป็นประจำ และหลีกเลี่ยงการไปอยู่ในที่ที่มีผู้คนหนาแน่น
3.หลีกเลี่ยงควันบุหรี่ ควันไฟ ควันจากท่อไอเสียรถยนต์ หรืออากาศที่หนาวเย็น
4.เมื่อเป็นหวัด หรือไข้หวัดใหญ่อย่าปล่อยทิ้งไว้ ควรรักษาให้หายขาดแต่เนิ่นๆ
5.ร้างระบบภูมิคุ้มกันให้แข็งแรงด้วยการนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ และออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
M=Medicine
การแนะนำยาที่อยู่ผู้ป่วยได้รับอย่างละเอียด ได้แก่
สรรพคุณ ขนาด วิธีใช้ ข้อควรระวังในการใช้ยา
รวมถึงการสังเกตผลข้างเคียงของยา
Streptomycin 750 mg. IM OD
ออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่ทำให้เกิดการติดเชื้อในร่างกาย ใช้รักษาวัณโรคหรือโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย
อาการแพ้ยา เช่น ลมพิษ หายใจลำบาก หน้าบวม ริมฝีปากบวม ลิ้นบวม คอบวม มีผื่นคัน ผิวหนังบวมแดง พุพอง ผิวลอกพร้อมกับมีไข้หรือไม่มีไข้ แน่นหน้าอกหรือลำคอ หายใจเสียงดัง มีปัญหาในการหายใจหรือการพูด เสียงแหบ เป็นต้น
E=Environment
การจัดการสิ่งเเวดล้อมให้เหมาะสมกับ
ภาวะสุขภาพของผู้ป่วย
ปัญหาทางเดินหายใจ การป้องกันสภาวะที่ส่งผลต่อการเจ็บป่วยในทางเดินหายใจและภูมิแพ้ต่างๆ เพราะมีหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าปัจจัยต่างๆ เหล่านี้มีอิทธิพลต่อสุขภาพ ได้แก่ ระดับความเป็นเมือง ปัญหาการจราจร ความหนาแน่นของยานพาหนะ ความหนาแน่นของที่อยู่อาศัย การระบายอากาศที่ไม่ดี
หากไม่สามารถปรับสิ่งแวดล้อมได้ เนื่องจากอาศัยบ้านนายจ้าง
ต้องดูแลสิ่งแวดล้อม ข้าวของเครื่องใช้ให้สะอาดอยู่เสมอ เพื่อลดการสะสมของเชื้อโรค
T=Treatment
การทำตามแผนการรักษา รวมถึง
การสังเกตอาการตนเอง
ให้ผู้ป่วยสังเกต คอยเฝ้าระวังอาการผิดปกติได้แก่ เจ็บหน้าอก เหนื่อยหอบ หรือสูญเสียการได้ยินจากการแพ้ยาให้บันทึกอาการและมาพบแพทย์ทันที
ให้ผู้ป่วยมาพบแพทย์ตามนัดที่แพทย์ได้นัดไว้
H=Health
การส่งเสริม ฟื้นฟูสภาพทางด้านร่างกายและจิตใจ
ตลอดจนป้องกันภาวะแทรกซ้อน
แนะนำให้ผู้ป่วยหมั่นดูแลสุขภาพให้แข็งเเรงอยู่เสมอ
เพื่อสร้างภูมิต้านทานในการกำจัดเชื้อ โดยการ
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
พักผ่อนให้เพียงพอ
งดการสูบบุหรี่ สารเสพติด
เเละเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
หมั่นล้างมือให้สะอาดอยู่เสมอครบ 7 ขั้นตอน
สวมหน้ากากอนามัยทุกครั้งที่ออกจากบ้าน
ไม่ไปในที่ ๆ มีความแออัด เห็นความสำคัญของ
การเว้นระยะห่างทางสังคม
O=Out patient
การติดต่อตามนัด การติดต่อขอความช่วยเหลือ
จากสถานพยาบาลแถวบ้าน ในกรณีการเกิดภาวะฉุกเฉิน
ให้ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง
หากมีกรณีฉุกเฉินสามารถรับบริการจากสถานพยาบาลใกล้บ้านก่อนได้ก่อนที่จะนำส่งโรงพยาบาลต่อไป
D=Diet
การเลือกรับประทานอาหารอย่างเหมาะสมกับโรค
และหลีกเลี่ยงอาหารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
แนะนำให้รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
และงดสูบบุหรี่