Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพ
ระบบประสาท ระยะเฉียบพลันและเรื้อรั…
-
การตรวจวินิจฉัย
ฝีในสมอง (Brain abscess)
-
การเริ่มเกิดฝีในสมองจะช้าและอยู่เฉพาะที่ โดยในระยะแรกมักจะเกิดการอักเสบที่เนื้อสมองก่อน ซึ่งในระยะนี้ยังไม่เห็นถุงหุ้มหนองส่วนในระยะหลังจะเกิดเป็นฝีที่มีถุงหุ้มชัดเจน
ใช้เวลาประมาณ10-14 วันในการเกิดฝี เนื่องจากผนังของฝีบางมาก ฝีหนองที่มีขนาดใหญ่ อาจแตกเข้าสู่ Subarachnoid space ทำให้เกิดเยื่อหุ้มสมองอักเสบร่วมด้วย ส่วนตัวฝีหนองเองก็นำไปสู่การตายของเนื้อสมองส่วนที่เป็นฝี และมีการบวมของเนื้อสมองรอบๆ
-
การรักษา
-
การผ่าตัด พิจารณา:ตำแหน่ง,ขนาด > 3 ซม.,จำนวน,
ระยะของฝี =เจาะดูดหนอง (Stereotacticaspiration)
-
-
-
-
-
-
-
- การถ่ายภาพรังสีกะโหลกศีรษะและกระดูกสันหลัง
(Skull and spine radiographic)
- การถ่ายภาพสมองด้วยคอมพิวเตอร์ (Computed Tomography : CT) เช่น Computed tomography angiography (CTA)
- การถ่ายภาพโดยใช้คลื่นเสี่ยง (Magnetic Resonance Imaging: MRI) เช่น Magnetic resonance angiography (MRA)
- การเจาะหลัง (Lumbar puncture)
- การตรวจคลื่นสมอง (Electroencephalogram : EEG)
- การฉีดสารทึบแสงเข้าเส้นเลือดสมอง (Cerebral angiography)
- การวัดความดันในกะโหลกศีรษะอย่างต่อเนื่อง (Continuous Intracranial Pressure Monitoring)
-
-
-
-
-
-
-
-
-