Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความหลากชนิดของพรรณไม้และการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าริมคลองพระปรง…
ความหลากชนิดของพรรณไม้และการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าริมคลองพระปรง จังหวัดสระแก้ว
วัตถุประสงค์
1.ศึกษาความหลากชนิดของสังคมพืชและการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่า บริเวณริมคลองพระปรง
สำรวจจำนวนชนิดและขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก
นำมาวิเคราะห์หาข้อมูลเชิงปริมาณและศึกษาการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าริมคลองในแต่ละช่วง
วิธีการศึกษา
การเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล
สำรวจชนิดของพรรณไม้
วางแปลงสำรวจรูปวงกลม รัศมี 5 ม. กระจายขนานกับแนวสองฝั่งคลองจำนวนทั้งหมด 40 แปลง
สำรวจต้นไม้ที่มีความสูงมากกว่า 1.30 ม. และมีเส้นผ่าศูนย์กลางระดับอกตั้งแต่ 4.5 ซม. ขึ้นไป แบ่งเป็นแปลงวงกลมย่อยรัศมี 1 ม.
วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ความถี่ ความหนาแน่น ความเด่น ดัชนีความสำคัญ และความหลากหลายของชนิดพรรณ
ศึกษาคุณภาพ
ทำการเก็บตัวอย่างดินที่ 2 ระดับความลึก ได้แก่ 0-5 ซม. และ 5-20 ซม.
ศึกษาลัษณะเนื้อดิน ความเป็นกรด-ด่าง ปริมาณธาตุอาหาร ปริมาณอินทรีย์ในวัตถุ
ศึกษาการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่า
จำแนกพื้นที่ป่าริมคลองพระปรงที่ครอบคลุม แปลตีความข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม
สถานที่ศึกษา
คลองพระปรง อ.วัฒนานคร และ อ.เมือง จ.สระแก้ว
ผลและวิจารณ์
ความหลากชนิดของพรรณไม้
1.1 พรรณไม้ที่สำรวจพบ
พบจำนวน 69 ชนิด 33 วงศ์ จำนวนชนิดมากที่สุด วงศ์ Euphorbiaceae มี 13 ชนิด
รองลงมา เช่น วงศ์ Lauraceae, Annonaceae, Guttiferae, Lythraceae bla Moraceae เป็นต้น
จำนวนกล้าไม้ ที่พบมีค่าเฉลี่ย 13 ต้นต่อแปลง
1.2 ความหนาแน่นของพรรณไม้
รวมของไม้ทุกชนิด เท่ากับ 8.75 ต้นต่อแปลง
ข่อย ยางนา ชุมแสง อินป่า และก้านเหลือง มีความหนาแน่นสูงสุด 5 ลำดับแรก มีค่าเท่ากับ 1.62, 0.82, 0.55, 0.45 และ 0.40 ต้นต่อแปลงตามลำดับ
ข่อย และยางนา พบบ่อยที่สุด มีความถี่ 45, 30 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ
ยางนา ข่อย และชุมแสง มีความเด่นสูงสุด เท่ากับ 6.07, 4.68, 3.02 ตารางเมตรต่อแปลง ตามลำดับ
1.3 ค่าดัชนีความสำคัญ
ข่อย ยางนา และชุมแสงมีค่า IV สูงสุด เท่ากับ 41.66, 33.31, 19.79 ตามลำดับ
สมบัติดิน
ดินชั้นบน ระดับ 0-5 ซม.
มีลักษณะเป็นดินเหนียว จนถึงดินร่วนปนทราย
ปริมาณอินทรียวัตถุ มีค่า 3.67%
ค่า pH 4.85
ดินลึก ที่ระดับ 5-20 ซม.
มีลักษณะเป็นดินร่วนปนเหนียว และดินร่วนปนทราย
ปริมาณอินทรียวัตถุ มีค่า 1.47%
ค่า pH 4.67
สุปผลการศึกษา
ความหลากชนิดของสังคมพืช
พบพรรณไม้จำนวนทั้งสิ้น 69 ชนิด 33 วงศ์ มากที่สุดพบในวงศ์ Euphorbiaceae มีจำนวน 13 ชนิด
จำนวนกล้าไม้เท่ากับ 4.14 ต้นต่อตารางเมตรความสูงเฉลี่ยของต้นไม้เท่ากับ 9.65 เมตร
การสำรวจเชิงปริมาณของสังคมพืช
ข่อยมีค่าความหนาแน่นและความถี่สูงที่สุดรองลงมาคือยางนา
ยางนามีความเด่นทางด้านพื้นที่หน้าตัดมากกว่าข่อย
ค่าดัชนีความสำคัญของพรรณไม้ พบว่า ข่อย ยางนาและชุมแสง เป็นกลุ่มไม้ที่มีความสำคัญในสังคมพืชริมคลองพระปรง
การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าริมคลองพระปรงจสระแก้วมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง (พ.ศ. 2545-2553) พื้นที่ป่าที่สูญหายไปนี้ส่วนใหญ่ถูกแทนที่ด้วยพื้นที่เกษตรกรรม
ที่มาและความสำคัญ
พื้นที่ป่าริมคลองพระปรงลดลงอย่างต่อเนื่อง ส่งผลถึงจำนวนพันธุ์ไม้ที่ขึ้นอยู่ตามธรรมชาติและการกระจายพันธุ์ของต้นไม้ตามธรรมชาติลดจำนวนลง
เพื่อให้ได้ข้อมูลพื้นฐานสำหรับนำไปใช้ประโยชน์ การวางแผนฟื้นฟูสภาพนิเวศริมคลอง รวมทั้งเพิ่มข้อมูลอ้างอิงเกี่ยวกับการศึกษาด้านนิเวศของป่าชายนํา
น.ส.สุดารัตน์ พรมเจียม 611120403 วิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะครุศาสตร์