Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความร้อนส่งผลต่อสสารและสถานะของสสาร, นางสาวลลิตา ปัตถา รหัสนักศึกษา641120…
ความร้อนส่งผลต่อสสารและสถานะของสสาร
วัสดุอุปกรณ์
ตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่บังลม
ขวดรูปชมพู่
ขวดพลาสติก
ไม้บรรทัด
Link Title
หลอดแก้ว
จุกยาง
น้ำผสมสี น้ำอุ่น น้ำเย็น
ลูกโป่ง
สถานะแก๊ส
ขั้นตอนการทดลอง
นำน้ำร้อนที่ต้มในบีกเกอร์เทใส่ภาชนะที่เตรียมไว้
4.นำขวดพลาสติกจุ่มลงในน้ำร้อนและให้สังเกตว่าลูกโป่งมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่
5.เมื่อเห็นลูกโป่งพองขึ้นให้นำน้ำเย็นไปเทใส่ภาชนะที่เตรียมไว้
2.จุดตะเกียงแอลกอฮอล์และนำน้ำที่เทใส่ในบีกเกอร์มาต้ม
1.นำเอาลูกโป่งใส่ขวดพลาสติกให้มีอากาศเล็กน้อย
6.นำเอาขวดใบที่หนึ่งที่มีลูกโป่งในน้ำร้อนให้เอาไปแช่น้ำเย็นและสังเกตการเปลี่ยนแปลง
สรุปผล
สสารที่อยู่ในสภาวะที่เป็นแก๊สเมื่อโดนความร้อนลูกโป่งจะพองตัวขึ้นและเมื่อโดนความเย็นลูกโป่งจะหดตัวลง
สถานะของเหลว
ขั้นตอนการทดลอง
4.นำไม้บรรทัดมาวัดขนาดน้ำ
5.จดบันทึกในการวัดครั้งแรกว่ามีความสูงปริมาณน้ำเท่าไหร่
3.นำจุกยางไปปิดไว้ที่ปากขวดรูปชมพู่และนำหลอดแก้วบิดลงไปในขวดรูปชมพู่ให้น้ำขึ้นมา 1 - 2 เซนติเมตร
6.นำน้ำเย็นใส่ภาชนะและจุดตะเกียงแอลกอฮอล์
2.นำหลอดแล้วใส่ลงไปในจุกยาง
7.นำขวดที่วัดความสูงแล้วไปไว้ในน้ำเย็นและนำอีกหนึ่งขวดไปตั้งไว้บนตะเกียงแอลกอฮอล์ทิ้งไว้ประมาณ 1 นาที
1.นำเอาน้ำที่ผสมสีใส่ในขวดรูปชมพู่ให้ถึงคอขวด
8.สังเกตไปที่ขวดรูปชมพู่ที่โดนความร้อนจะมีน้ำที่สูงขึ้น
9.นำขวดรูปชมพู่ทั้งสองขวดมาตั้งไว้ที่อุณหภูมิปกติ
10.นำไม้บรรทัดมาวัดความสูงรอบที่สองที่ขวดรูปชมพู่ที่ให้ความร้อนจะมีความสูง 9 เซนติเมตร และขวดรูปชมพู่ที่ให้ความเย็นจะมีความสูง 2 เซนติเมตร
จดบันทึก
ขวดที่1 มีปริมาณน้ำสูง 2 เซนติเมตร
ขวดที่ 2 มีปริมาณน้ำสูง 3เซนติเมตร
สรุปผล
ขวดรูปชมพู่ใบที่ 1ที่นำไปให้ความร้อนจะมีความสูงหรือปริมาตรเพิ่มขึ้นซึ่งเกิดจากความร้อนส่งผลให้สสารที่เป็นของเหลวมีอนุภาคเพิ่มขึ้นหรือขยายตัว
ขวดรูปชมพู่ใบที่ 2 ที่นำไปให้ความเย็นจะสังเกตได้ว่าความสูงของปริมาตรน้ำลดลงซึ่งเกิดจากความเย็นทำให้อนุภาคของสสารลดตัวลงหรือหดตัวลง
กลไกการถ่ายเทความร้อน
การพาความร้อน (Convection)
เป็นการถ่ายเทความร้อนด้วยการเคลื่อนที่ของอะตอมและโมเลกุลของสสารซึ่งมีสถานะเป็นของเหลวและก๊าซ ส่วนของแข็งนั้นจะมีการถ่ายเทความร้อนด้วยการนำความร้อน และการแผ่รังสีเท่านั้น การพาความร้อนจึงมากมักเกิดขึ้นในบรรยากาศ และมหาสมุทร รวมทั้งภายในโลก และดวงอาทิตย์
การแผ่รังสี (Radiation)
เป็นการถ่ายเทความร้อนออกรอบตัวทุกทิศทุกทาง โดยมิต้องอาศัยตัวกลางในการส่งถ่ายพลังงาน ดังเช่น การนำความร้อน และการพาความร้อน การแผ่รังสีสามารถถ่ายเทความร้อนผ่านอวกาศได้ วัตถุทุกชนิดที่มีอุณหภูมิสูงกว่า -273°C หรือ 0 K (เคลวิน) ย่อมมีการแผ่รังสี วัตถุที่มีอุณหภูมิสูงแผ่รังสีคลื่นสั้น วัตถุที่มีอุณหภูมิต่ำแผ่รังสีคลื่นยาว
การนำความร้อน (Conduction)
เป็นการถ่ายเทความร้อนจากโมเลกุลไปสู่อีกโมเลกุลหนึ่งซึ่งอยู่ติดกันไปเรื่อยๆ จากอุณหภูมิสูงไปสู่อุณหภูมิต่ำ ยกตัวอย่างเช่น หากเราจับทัพพีในหม้อหุงข้าว ความร้อนจะเคลื่อนที่ผ่านทัพพีมายังมือของเรา ทำให้เรารู้สึกร้อน โลหะเป็นตัวนำความร้อนที่ดี อโลหะและอากาศเป็นตัวนำความร้อนที่เลว
ความร้อน
(Heat)
เป็นพลังงานรูปหนึ่งที่มนุษย์นำมาใช้ประโยชน์ทั้งในชีวิตประจำวันและในการทำงานมนุษย์รับรู้ได้โดยการสัมผัสพลังความร้อนที่อยู่ใกล้วัตถุจะอยู่ในรูปของพลังงานจลน์ของโมเลกุลของวัตถุนั้น
ใช้สัญลักษณ์ว่า Q
นางสาวลลิตา ปัตถา
รหัสนักศึกษา641120225