Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาค 3 วิธีพิจารณาในศาลชั้นต้น, เว้นแต่ เป็นการฟ้อง จำเลย+มูล+ข้อหาเดียวกัน…
ภาค 3 วิธีพิจารณาในศาลชั้นต้น
ลักษณะ 1 ฟ้องคดีอาญาและไต่สวนมูลฟ้อง ม.157-171
แบบของคำฟ้องคดี มาตรา 158
รายการในคำฟ้อง
ส่วนท้ายของคำฟ้อง ส่วนท้ายของคำฟ้อง
ส่วนเริ่มต้นของคำฟ้อง
ส่วนการบรรยายคำฟ้อง
การฟ้องต้องทำเป็นหนังสือ
ไต่สวนมูลฟ้อง
การตรวจและสั่งคำฟ้อง มาตรา 161,162
มาตรา162 วรรค1 ในคดีที่ราษฎรเป็นโจทก์
(ไต่สวนมูลฟ้องเสมอ)
มาตรา165 วรรค3 วันไต่สวนมูลฟ้อง
ศาลมีอำนาจไต่สวนลับหลังจำเลยได้
จำเลยยังไม่มีฐานะเป็นจำเลยจนกว่าศาลจะประทับฟ้อง ม.165วรรค3
มาตรา162 วรรค2 ในคดีพนักงานอัยการเป็นโจทก์ (ไต่สวนมูลฟ้องหรือไม่ก็ได้ ดุลพินิจ)
มาตรา165 วรรค 1
หลัก
ต้องนำตัวจำเลยมาศาล
เว้นแต่
จำเลยอยู่ในอำนาจของศาลแล้ว
2.จำเลยถูกปล่อยตัวชั่วคราวตามหมายปล่อย
1.จำเลยถูกขังตามหมายขัง
การแก้หรือเพิ่มเติมฟ้อง ม. 163,164
การไต่สวนมูลฟ้อง ม. 165
โจทก์ขาดนัด ม. 166
เมื่อศาลประทับฟ้องแล้ว ม. 167-170
ลักษณะ 2 การพิจารณา ม.172-181
การพิจารณาและสืบพยานต่อหน้าจำเลย มาตรา 172
จำเลยว่าจะแนวคิดเรื่องสิทธิที่จะเผชิญหน้ากับพยาน เพื่อให้จำเลยมีโอกาสที่สุดต่อพยานเพื่อความบริสุทธิ์ของจำเลยและเพื่อเปิดโอกาสให้จำเลยต่อสู้คดีได้อย่างเต็มที่
จำเลยหลบหนี(ม.172 ทวิ/1)
ต้องไม่ใช่คดีที่มีโทษประหารชีวิตหรือจำเลยอายุไม่เกิน 18 ปีในวันที่ถูกฟ้อง
ผู้แทนนิติบุคคลหลบหนี(ม.172 ทวิ/2)
ไม่จำกัดประเภทคดีเหมือน ม.172 ทวิ/1
คู่ความขอสืบพยานไว้ก่อนถึงวันนัดสืบพยาน(ม.173/2 ว.2)
ไม่จำกัดประเพศของพยานหลักฐานแต่ต้องมีเหตุจำเป็นและเกี่ยวกับประเด็นสำคัญเกี่ยวกับคดีเหล่านั้น
กรณีให้สืบลับหลังได้ (ม.172 ทวิ)
พยานหลักฐานที่ได้มาย่อมใช้ยันจำเลยได้เว้นแต่กรณีตาม 172 ทวิ (1)(4)(5)
จำเลยขัดขวางการพิจารณาคดี (ม.180)
ศาลอาจสั่งให้จำเลยออกจากห้องพิจารณาได้
ลักษณะ 3 คำพิพากษาและคำสั่ง ม.182-192
คำพิพากษา
เป็นการชี้ขาดของศาลในประเด็นแห่งคดีที่ฟ้องต่อศาล เพื่อระงับข้อพิพาทระหว่างผู้ร้องและผู้ถูกร้องเป็นต้น อันจะยุติกระบวนพิจารณาในชั้นของศาลนั้น ๆ ขณะเดียวกัน ในคดีบางประเภท ศาลอาจยุติกระบวนพิจารณาด้วยคำสั่งศาลก็ได้
การอ่านคำพิพากษาหรือคำสั่ง มาตรา 182
คำสั่งศาล
เป็นคำประกาศอย่างเป็นทางการของผู้พิพากษาหรือองค์คณะผู้พิพากษา ที่กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างคู่กรณีในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี การอุทธรณ์ การฎีกา หรือกระบวนการอื่น ๆ ในทางยุติธรรม โดยกำหนดให้คู่กรณีฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดกระทำการหรืองดเว้นกระทำการใด ๆ ตามที่ศาลสั่ง ซึ่งในบางท้องที่ในโลกนี้ คำสั่งศาลต้องมีการลงลายมือชื่อของผู้พิพากษาที่สั่ง มีการประทับตราประจำตำแหน่งของเขา และอาจต้องประกาศต่อสาธารณะหรือลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ราชการ เช่น ราชกิจจานุเบกษา ด้วย
1.จำคุก
คำพิพากษาหรือคำสั่งต้องทำเป็นหนังสือและลงลายมือชื่อผู้พิพากษาตาม
ความเห็นแย้ง มาตรา 183
คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1015/2541
หัวใจสำคัญในการพิพากษาและคำสั่ง
แบบของคำพิพากษาและคำสั่ง มาตรา 186
2.พอใจ
ผู้พิพากษาเมื่อมีการประชุมให้ออกความเห็นทุกประเด็นที่จะวินิจฉัย ให้ประธานออกความเห็นสุดท้าย การวินิจฉัยให้ถือตามเสียงข้างมาก มาตรา 184
3.ปล่อยตัว
เหตุแห่งการยกฟ้อง มาตรา 185
ถ้าศาลเห็นว่าจำเลยมิได้กระทำผิดก็ดี การกระทำของจำเลยไม่เป็นความผิดก็ดี คดีขาดอายุความแล้วก็ดี มีเหตุตามกฎหมายที่จำเลยไม่ควรต้องรับโทษก็ดี ให้ศาลยกฟ้องโจทก์ปล่อยจำเลยไป แต่ศาลจะสั่งขังจำเลยไว้หรือปล่อยชั่วคราวระหว่างคดียังไม่ถึงที่สุดก็ได้
กฎหมายที่ใช้ในการพิพากษา
4.กรณีจำเลยถูกศาลสั่งพิพากษา ให้ลงโทษเป็นคนยากจน จะขอให้ศาลคัดสำเนาหนึ่งฉบับให้ได้ โดยไม่คิดค่าธรรมเนียม ตามมาตรา189
5.คำพิพากษาหรือคำสั่งซึ่งอ่านแล้ว ห้ามมิให้แก้ไข นอกจากแก้ถ้อยคำที่ผิดพลาด ตามมาตรา190
3.ในกรณีคำพิพากษาหรือคำสั่ง จะมีผลตั้งแต่วันที่ได้อ่านในศาลโดยเปิดเผย ตามมาตรา188
6.กรณีเมื่อเกิดสงสัยในการบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง บุคคลที่จะร้องขอให้ศาลอธิบายได้จะต้องเป็นบุคคลมีประโยชน์เกี่ยวข้อง ตามมาตรา191
2.คำสั่งระหว่างพิจารณาอย่างน้อยต้องมี วัน เดือน ปีเหตุผลตามกฎหมายในการสั่งและคำสั่ง ตามมาตรา187
7.ในกรณีที่ห้ามมิให้ศาลพิพากษาหรือสั่งเกินคำขอหรือที่มิได้กล่าวในฟ้อง อันเป็นการกำหนดกรอบอำนาจการพิพากษาคดีหรือการมีคําสั่งชี้ขาดคดีของศาลไว้ 2 ประการคือห้ามมิให้ศาลพิพากษาหรือสั่งเกินคําขอประการหนึ่งกับห้ามมิให้ศาลพิพากษาหรือสั่งในข้อที่โจทก์มิได้กล่าวในฟ้องอีกประการหนึ่งซึ่งศาลอยู่ในบังคับที่จะพิพากษาหรือสั่งเกินประการหนึ่งประการใดมิได้และทั้งสองประการดังกล่าวเป็นเรื่องที่โจทก์จะต้องระบุในฟ้อง ตามมาตรา192
1.กรณีศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งต้องมีข้อสำคัญ คือ ชื่อศาล คดีระหว่างใคร เรื่อง ข้อหาคำให้การ ข้อเท็จจริง เหตุผลในการตัดสิน บทมาตราที่ยกขึ้นปรับคำชี้ขาดและคำวินิจฉัยของศาลเป็นอย่างน้อย เว้นแต่ความผิดเกี่ยวกับลหุโทษ ไม่จำต้องมีข้อหาคำให้การ ข้อเท็จจริงและเหตุผลในการตัดสิน ตามมาตรา 186
เว้นแต่ เป็นการฟ้อง จำเลย+มูล+ข้อหาเดียวกันกับที่อัยการได้ยื่นฟ้องไว้ก่อนแล้ว