Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบหายใจ (Respiratory system) - Coggle Diagram
ระบบหายใจ
(Respiratory system)
Conducting part
ส่วนที่เป็นทางผ่านของอากาศ โดยไม่มีการแลกเปลี่ยนก๊าช
จมูก
(Nose)
-Upper : Lateral
-Lower Lateral Alar Cartilage
-Septal Carilage
โพรงจมูก
(Nasal cavity)
ถูกแบ่งออกเป็น2ช่องโดย nasal septem ซึ่งเป็นส่วนของ septal cartilage และได้รับการค้ำจุนโดยกระดูก etmoid maxillary และinferior conchae
โพรงอากาศ
(sinuses)
โพรงจมูกแบ่งได้เป็น 3 บริเวณ
1.Vestibule
2.Respiratory region
3.Olfactory region
มีเยื่อบุผิว 2 ชนิด
1.Respiratory epithelium
2.Olfactory epithelium
คอหอย
(Pharynx)
Nasopharynx
-เป็นส่วนบนสุดของคอหอยวางตัวอยู่หลังโพรงจมูกลงมาถึงเพดาอ่อน
-มีรูเปิดของEustachian’s tube
-พบ Pharyngeal tonsil
Oropharynx
-วางตัวอยู่ด้านหลังช่องปาก
-เริ่มจาก soft palate ลงไปถึงระดับของกระดูก hyoid
-พบ Palatine tonsils และ lingual tonsils
Laryngopharynx
-อยู่ด้านหลังกล่องเสียง
-เริ่งตั้งแต่ระดับ hyoid ไปจนถึงระดับ cricoid
-เปิดเข้าสู่กล่องเสียงด้านหน้า และเข้าสู่หลอดอาหารทางด้านหลัง
กล่องเสียง
(Larynx)
เป็นแหล่งกำเนิดเสียง ควบคุมการหายใจเข้า-ออก การกลืน และป้องกันท่อลมในระบบทางเดินหายใจ
ประกอบด้วยกระดูก9 ชิ้น
•Thyroid cartilage 1ชิ้น
•Cricoid cartilage 1ชิ้น
•Epiglottis 1ชิ้น
•Arytenoid cartilage 1คู่
•Corniculate cartilage 1คู่
•Cuneiform cartilage 1คู่
สายเสียง
(Vocal cords)
-สายเสียงแท้
-สายเสียงไม่แท้
หลอดลม
(Trachea)
-ตั้งอยู่ด้านหน้าของหลอดอาหาร
-ประกอบด้วยกระดูกอ่อนเป็นรูปวงแหวนคล้ายตัวC จำนวน16-20ชิ้น
-เริ่มจากส่วนปลายสุดของlarynx (C6) จนถึงจุดแยกเป็น bronchus ซ้าย ขวา (T5 )เรียกมุมนี้ว่า carina angle
Respiratory part
บริเวณแลกเปลี่ยนก๊าชระหว่างอากาศในถุงลมกับอากาศในหลอดเลือด
•Alveolar sac ประกอบด้วย alveoli ประมาณ 20ถุง
•ปอดคนปกติมีประมาณ300ล้านถุง
แรกเกิด24ล้านถุง เมื่อ8ขวบจะเพิ่มจำนวนเท่าผู้ใหญ่
โครงสร้างผนังถุงลม แบ่งออก3 ชนิด
•Capillary endothelial cells
เซลล์ถุงลมชนิดที่1
-เป็นเซลล์ส่วนใหญ่ของผนังถุงลม
-พบpinocytic vesicles จำนวนมาก มีบทบาทในการเปลี่ยนแปลงสาร surfactant และบทบาทในการกำจัดฝุ่นเล็กๆ
เซลล์ถุงลมชนิดที่2 ทำหน้าที่ลดสารแรงตึงผิว และพบเซลล์ macrophage
สารลดแรงตึงผิว
(Surface tension and surfactant)
-เป็นของเหลวมีส่วนผสมของสารไขมันชนิดหนึ่งคือ Palmitoyl lecithin
-สร้างจาก alveolar type 2 cell
-สร้างในเดือนที่4 ของการตั้งครรภ์และทำหน้าที่ได้ตั้งแต่เดือนที่7ของการตั้งครรภ์
ประโยชน์
1.ช่วยลดแรงตึงผิวของของเหลวบนถุงลม
2.ลดการแทรกซึมของของเหลวเข้ามาในถุงลม
3.คงสภาพของถุงลม
ปอด (Lung)
1.Apex อยู่เหนือไหปลาร้าขึ้นไปประมาณ1.5-2.5และอยู่ตรงกับกระดูกสันหลังT1
2.Base อยู่ติดกระบังลม ข้างขวาอยู่ตรงกับกระดูดสันหลังT10 ข้างซ้ายT11
เยื่อหุ้มปอด (Pleura)
•เป็นถุงลม 2 ชั้น
•ชั้นนอกติดกับผนังทรวงอก เรียก pleura
•ชั้นในติดกับผิวนอกของปอด เรียก visceral pleura
ลักษณะภายนอก
Right lung
ประกอบด้วย 3 พู (lobe)
-Upper lobe
-Middle lobe
-Lower lobe
ร่อง2ร่อง ได้แก่ oblique และhorizontal fissure
Left lung
ประกอบด้วย 2 พู (lobe)
-Upper lobe
-Lower lobe
ร่อง1ร่อง ได้แก่ oblique fissure
ปอดขวา (Right lung)
Hilus
•Pulmonary a.
•Pulmonary v.
•Bronchial a.
•Bronchial v.
•Nerve
•Lymphvessel
Medial surface of Rt.lung
•Heart
•Inferior vena cava
•Superior vena cava
•Azygosvein
•Esophagus
ปอดซ้าย (Left lung)
Medial surface of Lt.lung
•Heart
•Aortic arch
•Thoracic aorta
•Esophagus
หลอดเลือดที่มาเลี้ยงปอด (Blood supply to the lung)
มี2ระบบ
1.ระบบ Brochial
2.ระบบ Pulmonary
เส้นประสาทที่มาเลี้ยงปอด
Lung
1.Parasympathetic จากเส้นประสาท vagus
2.Sympathetic จาก sympathetic trunk และ cardiac plexus
Bronchus
-Visceral efferents from : Vagus nerve
-Constrict the bronchioles: Sympathetic system
กล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับการหายใจ
การหายใจเข้า ออกแบบปกติ
การหายใจจะเกิดขึ้นเมื่อมีสัญญาณประสาทจากศูนย์ควบคุมการหายใจมายังกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อ Diaphragm
กล้ามเนื้อ External intercostals
การหายใจแบบใช้พลังงาน
-เป็นการหายใจออกแรงๆ เช่น ออกกำลังกาย
-จำเป็นต้องอาศัยกล้ามเนื้อช่วยหายใจออก
-Abdominal muscle
-Internal intercostal muscle
การหายใจเข้าที่ลึกและแรง
เช่นออกกำลังกาย ขณะไอ หรือจาม หรือผู้ป่วยโรคหอบ
-Sternocleidomastoid
-Scalenus