Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบหายใจ (Respiratory system) - Coggle Diagram
ระบบหายใจ
(Respiratory system)
แบ่งออกได้เป็น2ส่วนใหญ่ๆ
Conducting part ส่วนที่เป็นทางผ่านของอากาศ (Air passages) โดยไม่มีการแลกเปลี่ยนก๊าซ
2.Respiratory partเป็นส่วนที่มีการแลกเปลี่ยนก๊าซระหว่างหลอดเลือดฝอยกับถุงลม
การไหลเวียนของเลือดเริ่มโดยห้องบนขวารับเลือดดำที่ร่างกายใช้แล้ว ส่งไปยังห้องล่างขวา ห้องล่างขวาจะฉีดเลือดดำไปฟอกที่ปอด ในขณะเดียวกัน เลือดแดงที่ผ่านการฟอกจากปอดจะเข้าสู่หัวใจทางห้องบนซ้ายแล้วส่งต่อมายังห้องล่างซ้าย หัวใจก็จะฉีดเลือดแดงออกจากห้องล้างซ้ายเข้าสู่เส้นเลือดใหญ่ ซึ่งต่อมาก็แยกออกเป็นเส้นเลือดเล็ก
แลกเปลี่ยนก๊าซระหว่างอากาศในถุงลมกับอากาศในหลอดเลือดฝอย
Respiratory bronchioles
Alveolar ducts
Alveolar sacs
Alveoli
• Alveolar sac ประกอบด้วย alveoli ประมาณ 20 ถุง (ประมาณ 100 ถุง เรียก 1 functional unit ของปอด)
ปอด (Lungs)
Apex อยู่หนือไหปลาร้าขึ้นไปประมาณ 1.5-2.5 ซม. และอยู่ตรงกระดูกสันหลังT1 2. Base อยู่ติดกระบังลม ข้างขวาอย่ตรงกับกระดูกสันหลังT10 ข้างซ้าย T11
• ปอดคนปกติมีประมาณ300ล้านถุงแรกเกิดมี24ล้านถุงและเพิมจำนวนเท่าผู้ใหญ่ปกติเมื่ออายุ8ขวบ
• ปอดมีโครงสร้างท่ีประกอบด้วยถุงลมขนาดเล็กและขนาดใหญ่ต่างกัน
โครงสร้าง
จมูก(Nose)
โพรงจมูก(Nasal cavity)
โพรงอากาศ(sinuses)
คอหอย(Pharynx)
กล่องเสียง(Larynx)
สายเสียง(Vocal cords)
หลอดลม(Trachea)
ภายในหลอดลมบุด้วยเยื้อเมือกเและมีขนเล็กๆ (Cilia ) และ Goblet cells ทำหน้าที่ผลิตเมือก
สายเสียงไม่แท้ (Vestibular fold หรือ False vocal cord)
สายเสียงแท้ (Vocal fold หรือ True vocal cord)
ทาหน้าที่เป็นแหล่งเกิดเสียงควบคุมการ หายใจเข้า-ออก การกลืนอาหาร และป้องกันท่อลมในระบบทางเดินหายใจ
ทำหน้าที่เป็นทางผ่าน ของอากาศและอาหาร มีโครงสร้าง
ช่วยทำให้ลมหายใจอุ่นขึ้นและทกให้เสียงมีความกังวาน
สารลดแรงตึงผิว(surface tension and surfactant)
ช่วยลดแรงตึงผิวของของเหลวบนถุงลม 2. ลดการแทรกซึมของของเหลวเข้ามาในถุง 3. คงสภาพของถุงลม
กล้ามเนื้อเกี่ยวข้องกับการหายใจ
การหายใจจะเกิดขึ้นเมื่อมีสัญญาณ ประสาทจากศูนย์ควบคุมการหายใจเข้ามายังกล้ามเนื้อ diaphragm และกล้ามเนื้อ external intercostals muscleโดยผ่านทาง phrenic nerve และ intercostals nerve
กล้ามเนื้อกระบังลมมีการหดตัวยุบลงในช่วงหายใจเข้าทำให้กระดูกซี่โครงขยายตัวเพิ่มปริมาตรในช่องอก ส่วนในช่วงหายใจออกกระบังลมยกตัวสูงขึ้น กล้ามเนื้อหน้าท้องช่วยในการหายใจออกอย่างแรง
ขบวนการการเเลกเปลี่ยนแก๊สได้
การแลกเปลี่ยนแก๊สในร่างกายของคนเกิดขึ้น 2 แห่ง คือที่ปอดและที่เซลล์ของเนื้อเยื่อต่างๆ ที่ปอดเป็นการแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างถุงลมกับหลอดเลือดฝอย โดยแก๊สออกซิเจนจากถุงลมจะแพร่เข้าสู่หลอดเลือดฝอยรอบๆถุงลม และจับกับฮีโมโกลบิน (hemoglobin : Hb) ในเซลล์เม็ดเลือดแดงกลายเป็นออกซีฮีโมโกลบิน (oxyhemoglobin )