Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาระบบทางเดินอาหาร, ยา docusate salts - Coggle Diagram
ยาระบบทางเดินอาหาร
-
ยาระบาย
-
ยาที่ทำให้เกิดการเพิ่มของกากใย
ได้แก่ (psyllium, methylcellulose)
กลไกในการออกฤทธิ :red_flag:เกิดการพองตัวในลำไส้ทำให้เพิม่ ปริมาณกากในอุจจาระทำให้เกิดการกระตุ้นที่ลำไส้เกิดการเคลื่อนไหวบีบตัวขับอุจจระออกมา
-
ผลข้างเคียง :black_flag:เกิดลมในกระเพาะอาหารมากกว่าปกติได้
ยามีผลไปดูดซับยาตัวอื่นจึงห้ามให้พร้อมกับยาตัวอื่นห้ามใช้ในผู้ป่วย
ที่เป็นแผลเรื้อรังในลำไส้
ยาระบายที่มีแรงดึงมาก
ยาในลุ่มนี้ ได้แก่ ยาน้ำาตาลแลคหูโลส (actutoseกลีเซอรีน (glycerin) ซอร์บิทอล (sorbital)สะโพลีเอทธิลีนไกลคอล (polyethelineglycol)
ที่นาทีโดยยาจะทำให้เกิดแรงดันออสโนติกและมีผลต่อการร
ะคายเคืองเฉพาะที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวเหมาะในเด็กในใช้มาก ได้แก่ ยาเหน็บ glycerin ออกฤทธิ์ภายใน 30สตรีมีครรภ์และหญิงให้นมบุตร
ออกฤทธิ :pencil2:ดึงน้ำาจากร่างกายเข้ามาในลำไส้ด้วยแรงดัน osmoticทำให้รงดันในลำไส้เพิ่ม ขึ้นเกิดการกระตุ้นให้ลำไส้บีบตัวและขับถ่ายอุจจาระออกมา
-
ยารักษาแผลในทางเดินอาหาร
-
-
-
1 ยาออกฤทธิ์โดยการลดกรด
ยาลดกรด
-
ผลข้างเคียง
ยาลดกรดแทบไม่ก่อให้เกิดผลข้างเคียงเมื่อรับประทานในปริมาณที่เหมาะสมและในกรณีที่จำเป็น แต่บางรายก็อาจเกิดอาการท้องเสีย ท้องผูก ท้องอืด เรอ คลื่นไส้ อาเจียน
กลไกการออกฤทธิ์
ยาลดกรดส่วนใหญ่จะประกอบด้วยสารที่มีฤทธิ์เป็นด่างอ่อนจึงอาศัยความเป็นด่างทำปฏิกิริยากับกรดในกระเพาะอาหารทำให้ระดับ pHในกระเพาะเพิ่มขึ้น 3- 4ระดับทำให้ความเป็นกรดในกรระเพาะอาหารลดลงจึงส่งผลทำให้pepsin ในกระเพาะอาหารทำงานได้น้อยลง (pepsin)เป็นตัวกระตุ้นให้แผลในทางเดินอาหารแย่ลงนอกจากนั้นยายังมีผลเพิ่มแรงดันในหูรูดหลอดอาหารส่วนล่างและมีฤทธิ์สมานแผลเฉพาะที่
ข้อควรระวัง
หญิงมีครรภ์หรือกำลังให้นมบุตรควรปรึกษาแพทย์ก่อนการใช้ยา เนื่องจากยาลดกรดบางชนิดอาจมีส่วนผสมของโซเดียมไบคาร์บอเนต ซึ่งอาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงกับหญิงมีครรภ์
ไม่ควรรับประทานยาลดกรดพร้อมกับยาชนิดอื่นภายใน 2-4 ชั่วโมง เพราะอาจดูดซึมฤทธิ์ยาตัวอื่นจนทำให้ออกฤทธิ์ได้ไม่เต็มที่
-
-
-