Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การออกแบบการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน, นางสาววีรดา ไกรวงษ์ 611120417…
การออกแบบการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการออกแบบการวิจัย
องค์ประกอบของการออกแบบการวิจัย
การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง
การกำหนดรูปแบบและวิธีการสุ่มตัวอย่าง
การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างที่เหมาะสม
การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล
การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
การออกแบบการวัดตัวแปร
การกำหนดรูปแบบและวิธีการวัดตัวแปรที่ศึกษาโดยกำหนดวัตถุประสงค์ของการวัดให้ครอบคลุมและชัดเจน
กำหนดรูปแบบและวิธีวัดค่าหรือควบคุมตัวแปรเกินซึ่งเป็นตัวแปลที่ผู้วิจัยไม่ได้มุ่งศึกษาโดยตรงแต่เป็นตัวแปรที่อาจมีผลกระทบต่อตัวแปรตาม
หลักการออกแบบการวิจัย
ความตรงภายใน
การวิจัยที่มีผลการวิจัยที่มีความถูกต้องแม่นยำกล่าวคือตัวแปรอิสระเป็นผลให้เกิดตัวแปรตามไม่ใช่ตัวแปรอื่นๆ
ความตรงภายนอก
การวิจัยจะถือว่ามีความตรงภายนอกก็ต่อเมื่อสามารถนำผลการวิจัยไปสรุปอ้างอิงไปยังประชากรเป้าหมายได้อย่างถูกต้องสามารถนำผลการวิจัยไปสรุปใช้ได้อย่างถูกต้อง
จุดมุ่งหมายของการออกแบบการวิจัย
เพื่อให้ได้คำตอบในปัญหาการวิจัยอย่างถูกต้อง
เพื่อควบคุมความแปลปวนของตัวแปรในการวิจัย
วิธีการออกแบบการวิจัย
การออกแบบการวิจัยเชิงบรรยาย
การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์เป็นการวางแผนการดำเนินงานวิจัยเพื่อการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรปัจจัยหรือองค์ประกอบที่นำไปสู่การทำนายและศึกษาเป็นสาเหตุระหว่างตัวแปร
การวิจัยเชิงพัฒนาเป็นกระบวนการดำเนินงานวิจัยเพื่อศึกษาการเจริญเติบโตหรือแนวโน้มสามารถแบ่งออกเป็น2รูปแบบได้แก่การศึกษาระยะยาวและการศึกษาภาคตัดขวาง
การวิจัยเชิงสำรวจเป็นการวางแผนการดำเนินงานวิจัยเพื่อบรรยายตัวแปร
การวิจัยศึกษาเฉพาะกรณีเป็นการวางแผนการดำเนินงานวิจัยที่ศึกษาเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นกับแต่ละบุคคลสถานที่เฉพาะเจาะลึกเป็นรายกรณีไป
การวิจัยเชิงวิเคราะห์เนื้อหาเป็นการวางแผนการดำเนินงานวิจัยด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารเพื่อบรรยายสรุปอ้างอิงไปยังเนื้อหาของเอกสารทั้งหมด
การออกแบบการทดลอง
ส่วนประกอบของการออกแบบการทดลองมีส่วนประกอบสำคัญสี่ส่วนได้แก่ กรอบแนวคิดหรือทฤษฎีสำหรับการวิจัย การจัดกลุ่มสำหรับการทดลอง การดำเนินการสุ่มและการวัดหรือสังเกตผลการทดลอง
ประเภทของการออกแบบการทดลองถ้าพิจารณาส่วนประกอบสำคัญสองประการของการออกแบบการทดลองได้แก่การจัดดำเนินการแบบสุ่มและการจัดกลุ่มควบคุม
การออกแบบการทดลองจำแนกเป็น3ประเภท
การวิจัยกึ่งทดลอง
การวิจัยเชิงทดลองอย่างแท้จริง
การวิจัยเชิงทดลองขั้นต้น
หลักการสุ่มตัวอย่าง
เป้าหมายของการสุ่มตัวอย่างคือการได้จากกลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะเป็นตัวแทนของประชากรและการสุ่มตัวอย่างที่จะทำให้ได้กลุ่มตัวอย่างมีลักษณะเป็นตัวแทนของประชากรได้นั้นผู้วิจัยจะต้องเลือกใช้วิธีสุ่มตัวอย่างที่เหมาะสมและกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ใหญ่เพียงพอ
ขั้นตอนการสุ่มตัวอย่าง
กำหนดวิธีการสุ่มตัวอย่าง
กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
กำหนดกรอบตัวอย่าง
ดำเนินการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
กำหนดประชากรเป้าหมายก่อนที่จะลงมือสุ่มตัวอย่าง
ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
ขนาดของประชากรว่าประชากรมีขนาดใหญ่หรือเล็กเพียงใด
ความคลาดเคลื่อนจากการสุ่มตัวอย่าง
ขนาดของกลุ่มตัวอย่างจำนวนน้อยที่สุดที่สามารถยอมรับได้ขึ้นอยู่กับชนิดของการวิจัย
ลักษณะของประชากร
กลุ่มตัวอย่างควรมีจำนวนมากเท่าที่สามารถจะทำได้
ทรัพยากรและเวลาที่ใช้ในการวิจัย
วิธีการกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
การใช้ตารางสำเร็จรูป
การใช้สูตรคำนวณ
การกำหนดตามเกณฑ์
วิธีการสุ่มตัวอย่าง
การสุ่มที่ไม่คำนึงถึงความน่าจะเป็นในการสุ่ม
การสุ่มแบบโควตา
การเลือกแบบเจาะจง
การสุ่มแบบบังเอิญ
การสุ่มที่คำนึงถึงความน่าจะเป็นในการสุ่ม
การสุ่มตัวอย่างแบบเลือกเป็นคู่
การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งเป็นชั้นภูมิ
การสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ
การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่มหรือพื้นที่
การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย
การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน
นางสาววีรดา ไกรวงษ์ 611120417 วิทยาศาสตร์ทั่วไป