Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบหายใจ (Respiratory system) Part I - Coggle Diagram
ระบบหายใจ (Respiratory system)
Part I
Conducting part
เป็นทางผ่านของอากาศ (Air passages)
ไม่มีการแลกเปลี่ยนก๊าซ
Pharynx
เป็นทางผ่านอากาศ
Nasopharynx
บนสุดของคอหอย
อยู่หลังโพรงจมูกมาถึงคอหอย
Oropharynx
อยู่ด้านหลังช่องปาก
Laryngopharynx
อยู่ด้านหลังกล่องเสียง
Larynx
เป็นแหล่งเกิดเสียง ควบคุมการหายใจเข้า-ออก
กระดูกอ่อน 9 ชิ้น
▪Thyroid cartilage 1 ชิ้น
▪Cricoid cartilage 1 ชิ้น
▪Epiglottis 1 ชิ้น
▪Arytenoid cartilage 1 คู่
▪Corniculate cartilage 1 คู่
▪Cuneiform cartilage 1 คู่
สายเสียง (Vocal cords)
สายเสียงไม่แท้ (Vestibular fold หรือ False vocal cord)
สายเสียงแท้ (Vocal fold หรือ True vocal cord)
Muscle of larynx
เปิด-ปิด Glottis
ทำให้เกิดtension ของ vocal fold
เคลื่อน larynx ระหว่างที่มีการกลืน (deglutition)
Trachea
อยู่ด้านหน้าของหลอดอาหาร
ประกอบด้วยกระดูกอ่อนเป็นรูปวงแหวน
เริ่มจากส่วนปลายสุดของ larynx C6
Bronchus (bronchi)
หลอดลมเล็ก
Bronchiole
หลอดลมฝอย
Terminal bronchiole
หลอดลมฝอยส่วนปลาย
Nose/Nasal cavity
nasal septem
โพรงอากาศ (sinuses)
เกี่ยวข้องกับการช่วยทาให้ลมหายใจอุ่นขึ้น และทาให้เสียงมีความกังวาน
โพรงจมูกแบ่งเป็น 3 บริเวณ
Vestibule
Respiratory region
Olfactory region
มีเยื่อบุผิว 2 ชนิด
• Respiratory epithelium
• Olfactory epithelium
Respiratory part
มีการแลกเปลี่ยนก๊าซระหว่างหลอดเลือดฝอยกับถุงลม
Respiratory bronchioles
Alveolar duct
Alveolar sac
ประกอบด้วย alveoli ประมาณ 20 ถุง
ปอดคนปกติมีประมาณ 300 ล้านถุง
Alveoli
ถุงลมเดียว
โครงสร้างผนังถุงลม แบ่งเป็น 3 ชนิด
(type II alveolar cell หรือ Great alveolar)
สร้างสารลดเเรงตึงผิว
สารลดแรงตึงผิว (surface tension and surfactant)
ของเหลวมีส่วนผสมของสารไขมันชนิดหนึ่งคือ Palmitoyl lecithin
ช่วยลดแรงตึงผิว ของของเหลวบนถุงลม
ลดการแทรกซึมของของเหลวเข้ามาในถุง
คงสภาพของถุงลม
พบเซลล์ macrophage
(type I alveolar cell หรือ Squamous epithelial cells)
เป็นเซลล์ส่วนใหญ่ของผนังถุงลม
พบ pinocytic vesicles จำนวนมาก
ปอด (Lungs)
Apex อยู่เหนือไหปลาร้าขึน้ ไปประมาณ 1.5-2.5 ซม.
Base อยู่ติดกระบังลม
เยื่อหุ้มปอด (Pleura)
ชั้นนอกติดกับผนังทรวงอก parietal pleure
ชั้นในติดกับผิวนอกของปอด visceral pleure
ลักษณะภายนอก
Right lung
Upper (Superior) lobe
Middle lobe
Lower (Inferior) lobe
ร่อง 2 ร่อง
oblique และhorizontal fissure
Left lung
Upper (Superior) lobe
Lower (Inferior) lobe
ร่อง 1 ร่อง
oblique fissure
หลอดเลือดที่มาเลี้ยงปอด (Blood supply to the lungs)
ระบบ Brochial
ระบบ Pulmonary
Rt. pulmonary artery และ Lt. pulmonary artery )
Pulmonary vein
Rt. Superior pulmonary vein
Rt. Inferior pulmonary vein
Lt. Superior pulmonary vein
Lt. Inferior pulmonary vein
กล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับการหายใจ
การหายใจเข้า ออกแบบปกติ
Diaphragm
External intercostals muscle
การหายใจจะเกิดขึ้นเมื่อสัญญาณประสาทจากศูนย์ควบคุมเข้ามายังกล้ามเนื้อ
การหายใจออกแบบใช้พลังงาน (Forced Expiration)
เป็นการหายใจออกแรงๆ
ผู้ที่ออกกำลังกาย
ผู้ป่วยถุงลมโป่งพอง
จำเป็นต้องอาศัยกล้ามเนื้อช่วยหายใจออก
Abdominal muscle
Internal intercostal muscle
การหายใจเข้าที่ลึกและแรง
ขณะออกกำลังกาย ขณะไอ หรือจาม หรือในผู้ป่วยหอบหืด
Sternocleidomastoid
Scalenus