Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฏษฎีฐานราก (Grounded Theory), 646020110011 พัทธญาณี พึ่งผาสุก - Coggle…
ทฏษฎีฐานราก (Grounded Theory)
ความหมาย
เป็นวิธีการวิจัยประเภทหนึ่งของการวิจัยเชิงคุณภาพ ที่ใช้ในการพัฒนาหรือสร้างทฤษฏีจากวิธีอุปนัย (inductive) ซึ่งเป็นการหาข้อสรุปของข้อมูลจากปรากฎการณ์ที่ศึกษา โดยการรวบรวมและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
เป็นวิธีวิจัยแบบอุปนัยสำหรับทฤษฎีใหม่ที่สร้างขึ้นจากระบบข้อมูลที่ได้จากวิธีการวิจัยที่เข้มงวด (Glaser,1998)
เป็นการค้นพบทฤษฎีจากข้อมูลที่ได้จากการวิจัยทางสังคมอย่างเป็นระบบ (Glaser และ Strauss,1967)
เป็นทฤษฎีที่ได้จากข้อมูล ซึ่งมีการรวบรวมอย่างเปนระบบ และมีการวิเคราะห์ตลอดกระบวนการวิจัย (Strauss และ Corbin,1990)
รูปแบบของทฤษฎีฐานราก
1.รูปแบบการศึกษาตามสิ่งที่ปรากฎ (Emerging study)
2.รูปแบบกระบวนที่เป็นระบบ (Systematic procedures)
3.รูปแบบการสร้างสรรค์นิยม (Constructivism หรือ Constructing grounded theory)
คุณลักษณะพื้นฐานของทฤษฎีฐานราก (Fundamental Characteristics of Grounded Theory)
พัฒนามาจากทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ ดังนั้นนักวิจัยต้องทำความเข้าใจแนวคิดพื้นฐาน ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ (Symbolic interactionism)
โลก (The world)
ความเป็นตัวตน
ฉัน (I)
ตัวฉัน (Me)
การกระทำร่วมกันในสังคม
ระเบียบวิธีการศึกษาของทฤษฏีฐานราก (Methodology of Grounded Theory study)
ทฤษฏีฐานราก มีวัตถุประสงค์หลัก คือ ศึกษากระบวนการทางสังคม มีเป้าหมายในการพัฒนาทฤษฎี (Glaserc และ Strauss,1967) นักวิจัยจะไม่เริ่มต้นด้วยที่ตนสนใจ แต่จะเริ่มต้นการทำวิจัยในประเด็น เหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ที่ตนเองสนใจ และพัฒนาหรือสร้างทฤษฎีขึ้นมาเพื่อใช้อธิบายปรากฎการณ์ที่เฉพาะเจาะจง หรืออธิบายปรากฎการณ์ในขอบเขตที่ศึกษา
การทบทวนวรรณกรรมเป็นแหล่งข้อมูล (Literature as s source of data)
เพิ่มความไวทางทฤษฎี (Theoretical sensitivity)
การใช้ประโยชน์จากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ
ก่อให้เกิดคำถามเกี่ยวกับข้อมูล
วิธีการที่สำคัญของการคัดเลือกตัวอย่างทางทฤษฏี (Theoretical sampling)
วิธีการตรวจสอบทฤษฎี
การรวบรวมข้อมูล โดยการคัดเลือกตัวอย่างเชิงทฤษฎี
การวิเคราะห์ข้อมูล
ความไวทางทฤษฎี (Theoretical sensitivity) ได้มาจากการทบทวนวรรณกรรมเบื้องต้น และจากประสบการณ์ของนักวิจัย
วิธีการเปรียบเทียบแบบคงที่ (Constant comparison)
การให้รหัส (Coding)
การจัดหมวดหมู่ (category)
ความน่าเชื่อถือของการศึกษาทฤษฎีฐานราก
ความเชื่อถือได้
ความสามารถในการถ่ายโอนผลการวิจัย
การพึ่งพาเกณฑ์
การยืนยันผล
646020110011 พัทธญาณี พึ่งผาสุก