Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีกระบวนการทางสมอง ในการประมวลข้อมูล (Information Processing Theory) …
ทฤษฎีกระบวนการทางสมอง
ในการประมวลข้อมูล
(Information Processing Theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้
คลอสไมเออร์ (Klausmeie)
การทำงานของสมองมนุษย์มีความคล้ายคลึง
กับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
การรับข้อมูล (input)
การเข้ารหัส (encoding)
การส่งข้อมูลออก (output)
กระบวนการทางสมอง
ในการประมวลข้อมูล
รับสิ่งเร้าจากประสาทสัมผัสทั้ง 5
ความทรงจำระยะสั้น
1.การรู้จัก
2.ความใส่ใจ
ความทรงจำระยะยาว
1.ภาษา
2.เหตุการณ์สำคัญ
3.การเคลื่อนไหว
4.อารมณ์ ความรู้สึก
พฤติกรรมตอบสนอง
การเคลื่อนไหว
การพูด
Metacognition
การรู้คิด
Metacognitive knowledge
ความรู้ในการรู้คิด
ประกอบไปด้วย
Paris et al.
4.ความรู้เชิงเงื่อนไข (conditional knowledge)
3.กลวิธี (strategy)
2.ความรู้เชิงกระบวนการ (procedural knowledge)
ความรู้ในเชิงปัจจัย (declarative knowledge)
Garofalo and Lester
3.กลวิธี (strategy)
2.การรับรู้ (perception)
ความรู้เกี่ยวกับบุคคล
(person)
กระบวนการ
3.กลวิธีต่าง ๆ (strategies)
2.การรับรู้ (perception)
ความใส่ใจ (atter-tion) ในการรับรู้
หมายถึง
2.การทำงานของตนด้วยกลวิธี (strategies)
1.การตระหนักรู้ (awareness)
การประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน
จัดสิ่งเร้าในการเรียนรู้ให้ตรงกับความสนใจของผู้เรียน
การนำเสนอสิ่งเร้าที่ผู้เรียนรู้จักหรือมีข้อมูลอยู่
แล้วจะช่วยให้ผู้เรียนใส่ใจและรับรู้สิ่งนั้น
ใช้วิธีการเข้ารหัส encoding ท่องจำ ท่องซ้ำ จัดหมวดหมู่ ทบทวน สัมพันธ์ความรู้ใหม่กับความรู้เดิม เพื่อเป็นการยืดระยะความจำให้นานขึ้น
ทฤษฎีที่สนใจศึกษาเกี่ยว
กับกระบวนการพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์
โดยให้ความสนใจเกี่ยวกับการทำงานของสมอง