Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Sepsis with Urinary tract infection (UTI) - Coggle Diagram
Sepsis with Urinary tract infection (UTI)
Sepsis
ภาวะที่ร่างกายมีการตอบสนองต่อการติดเชื้อเกิดจากเชื้อแบคทีเรียดดยู้ป่วยติดเชื้อแบคทีเรียส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายจากนั้นจะซึมเข้ากระแสเลือดจะทำให้เกิดการอักเสบทั่วขึ้นร่างกาย ทำให้ลิ่มเลือดอุดตันการลำเลียงของออกซิเจนไปยังอวัยวะที่สำคัญของร่างกายเมื่อได้ออกซิเจนไปหล่อเลี้ยงอย่างเพียงพอการทำงานของอวัยวะส่วนนั้นจึงล้มเหลว
สาเหตุ
ทฤษฎี
ประมาณ 5% จากการติดเชื้อแบคทีเรียชนิดก่อภาวะนี้ได้บ่อย(Classic pathogens เช่น H.influenzae, Neisseria
meningitidis, Streptococcus pyogenes และ S.pneumoniae)
ประมาณ40% เป็นแบคทีเรียชนิดแกรมลบ (Gram negative bacteria)
ประมาณ30% เป็นแบคทีเรียชนิดแกรมบวก (Gram positive bacteria)
ประมาณ 6% เกิดจากเชื้อรา
การติดเชื้อบริเวณช่องท้อง
ทางเดินปัสสาวะอักเสบ
UTI(Urinary Tract Infection)
สาเหตุ
ทฤษฎี
นิ่วหรือการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ ทำให้เชื้อเจริญ เติบโตง่าย
การใช้diaphragmหรือspermicide
การร่วมเพศ
การดื่มน้ำน้อยแต่วัน
กลั้นปัสสาวะบ่อย
เป็นเบาหวาน
ผ่าตัดเปลี่ยนไต
เป็นต่อมลูกหมากโตBPH ( Benign Prostatic Hyperplasia)
ฮอร์โมนDihydrotestosterone (DHT) เป็นตัวกระตุ้นให้ต่อมลูกหมากมีขนาดโตขึ้นภาวะที่ต่อมลูกหมากมีขนาดใหญ่กว่าปกติ ต่อมลูกหมากจะหุ้มอวัยวะส่วนต้นไว้ เมื่อต่อมลูกหมากโตขึ้นทำให้กดทับท่อปัสสาวะให้ตีบเล็กลง
อาการ
2 more items...
สาเหตุ
2 more items...
การวินิจฉัย
2 more items...
การรักษา
2 more items...
ภาวะแทรกซ้อน
2 more items...
กรณีศึกษา
เคยสลายนิ่วในไต 6 ครั้ง
เป็นโรคต่อมลูกหมากโต
อาการและอาการแสดง
ส่วนบน
ทฤษฎี
คลื่นไส้อาเจียน
ปวดบั้นเอว
มีไข้
อ่อนแรง
กรณีศึกษา
มีไข้ 38 องศา
อ่อนแรง
ส่วนล่าง
ทฤษฎี
มีเลือดปนออกมากับปัสสาวะ
ปัสสาวะขัด กลั้นปัสสาวะไม่อยู่
ปัสสาวะถี่ ปวดบริเวณท้องน้อย
กรณีศึกษา
ปัสสาวะสีขุ่น มีตะกอน
แบคทีเรียมีการเคลื่อนที่จากลำไส้มาปนเปื้อนบริเวณส่วนนอกของรู ทวารจากนั้นเคลื่อนเข้าสู่ช่องเปิดของท่อปัสสาวะและเคลื่อนไปตามท่อปัสสาวะเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ ท่อไต และไตทำให้เกิดการติดเชื้ออวัยวะที่เคลื่อนไปถึง
การวินิจฉัย
ทฤษฎี
Nitrite-positive urine (with nitrite reducer)
Pyuria (WBC > 10/mm3)
Leukocyte esterase-positive urine
bacteriuria = E-coli ,klebsiella ,pseudomonas
Anitbody-coated bacteria (Upper UTI)
เชื้อไวรัส เชื้อรา พยาธิ
กรณีศึกษา
WBC 5-10 cells/HP
Leukocyte WBC 2+
การรักษา
ทฤษฎี
การรักษาด้วยยาปฎิชีวนะ
Ceftriazone ฆ่าเชื้อป้องกันการแพร่เชื้อ
Paracetamol ลดไข้ป้องกันชักจากอุณหภูมิสูง
ถ้าอาการไม่รุนแรงกินยาให้ครบ 7-14 วัน ชนิดยากินเช่น
7 more items...
รักษาทั่วไป
ยาลดไข้ ยาแก้ปวด
ยาลดไข้ ยาแก้ปวด
เช็ดตัวลดไข้
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ใช้สายสวนปัสสาวะออกเป็นชั่วคราว
ไม่กั้นปัสสาวะรักษาบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ให้สะอา
กรณีศึกษา
ceftriaxone 2 g
Tazocin 2.25 g iv q 8 hr.
Paracetamol 1 tab prn.
ภาวะแทรกซ้อน
ทฤษฎี
แผลเป็นที่ไต
ฝีที่ไต
ไตวายเฉียบพลัน
ติดเชื้อในกระแสเลือด
กรวยไตอักเสบเรื้อรัง
กรณีศึกษา
ติดเชื้อในกระแสเลือด
โรคประจำตัว
เบาหวาน
โรคของเม็ดเลือดขาว
การทำหัตการอาจนำเชื้อโรคสู่ร่างกายได้
ใส่สายสวนปัสสาวะ
ใส่ท่อหายใจ
การสวนหัวใจ
กรณีศึกษา
ใส่สายสวนปัสสาวะ
on ET tube 8/22
อาการและอาการแสดง
ทฤษฎี
อาการตอบสนองต่อการอักเสบต่อร่างกาย SIRS
อุณหภูมิ > 38 °C หรือ< 36 °C
HR >90 B/min
RR >20/min หรือ PaCO2<32mmHg
WBC>12000/mm3,<4000/mm3,หรือมี banform neutrphil>10%
หายใจเร็ว ชีพจรเต้นเร็ว
รู้สึกหนาวมือเท้าเย็นมาก
หายใจเหนื่อยหอบ
กรณีศึกษา
มีไข้ 38 °C
หายใจเหนื่อยหอบ
รู้สึกหนาวสั่นมือเท้าเย็นมาก
HR >116 B/min
RR 22/min หรือ PaCO2 31.8 mmHg
Neutrophil 94.3%(H) Lymphocyte 3.9%(L) Monocyte 1.8%(L)
ภาวะแทรกซ้อน
ทฤษฎี
ภาวะหายใจล้มเหลวเฉียบพลันAcute respiratory distress syndrome (ARDS
อวัยวะทำงานผิดปกติการติดเชื้อในกระแสเลือดส่งผลต่อการทำงานของอวัยวะอื่นๆภายในร่างกายคืออวัยวะหลายส่วนไม่สามารถทำงานได้ปกติรวมไปถึงถึงการทำงานของปอด หัวใจ ไต
ต่อมหมวกไตทำงานล้มเหลว
ภาวะลิ่มเลือดแพร่กระจายในหลอดเลือด (disseminated intravascular coagulation: DIC)
กรณีศึกษา
มีการติดเชื้อในกระแสเลือด
การวินิจฉัย
ทฤษฎี
ตรวจพิเศษ
การตรวจคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า Magnetic Resonance Imaging (MRI)
Ultrasound
X-ray
CT SCAN การตรวจวินิจฉัยโรคด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์
การตรวจเลือด
การตรวจสารคัดหลั่งจากแผล
ตรวจน้ำมูกและเสมหะ
การตรวจปัสสาวะ
กรณีศึกษา
การตรวจปัสสาวะ
การตรวจเลือด
X-ray
การรักษา
ทฤษฎี
ให้ยาปฎิชีวนะฆ่าเชื้อแบคทีเรีย
การกำจัดต้นเหตุที่มีการติดเชื้อ
รักษาประคับประคองตามอาการเช่นให้ยาลดไข้ ยาลดกรดให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ให้ออกซิเจน ให้อินซูลิน
ยาเพิ่มความดันโลหิต
กรณีศึกษา
ceftriaxone 2 g
Tazocin 2.25 g iv q 8 hr.