Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคที่พบในระบบต่อมไร้ท่อ :star: - Coggle Diagram
โรคที่พบในระบบต่อมไร้ท่อ :star:
เป็นมะเร็งสมองชนิดร้ายแรง
อาการ
การมองเห็นผิดปกติ
สูญเสียการรับสัมผัส
เสียประสิทธิภาพการทำงานของระบบประสาท โดยเฉพาะกล้ามเนื้อ
การได้ยินผิดปกติ
มีอาการชัก
อัมพฤกษ์ครึ่งซีก
ปวดศีรษะ และ อาเจียนร่วม
การรักษา
การผ่าตัด
รับการฉายแสงร่วมกับการใช้ยาเคมีบำบัด
สาเหตุ
เคยได้รับการฉายแสงบริเวณที่ต้นคอหรือศีรษะมาก่อน
ความเสี่ยงจากการสัมผัสกับตัวทำละลายเคมีต่างๆ
ประวัติการเป็นโรคเนื้องอกสมองในครอบครัว
การได้รับสัมผัสรังสีหรือสารกำมันตภาพ
โรคมะเร็งต่อมไทรอยด์
อาการ
เสียงแหบ
กลืนลำบาก หรือรู้สึกเจ็บขณะกลืน
หายใจลำบากหรือหายใจมีเสียงหวีด
ต่อมน้ำเหลืองที่ลำคอบวม
พบก้อนนูนใต้ผิวหนังบริเวณกึ่งกลางลำคอ
รู้สึกเจ็บขณะกลืน
แบ่งออกเป็น 5 ชนิด
มะเร็งไทรอยด์ชนิดเมดัลลารี
มะเร็งไทรอยด์ชนิดอะนาพลาสติก
มะเร็งไทรอยด์ชนิดฟอลลิคูลาร์
มะเร็งต่อมน้ำเหลืองของต่อมไทรอยด์
มะเร็งไทรอยด์ชนิดพาพิลลารี่
การรักษา
การผ่าตัด
ยาเคมีบำบัด
การฉายรักสีรักษา
โรคพีซีโอเอส
วิธีรักษา
การผ่าตัดรักษาถุงน้ำในรังไข่หลายใบ
ารใช้ห่วงอนามัยมีจุดประสงค์เพื่อป้องกันความผิดปกติของเยื่อบุโพรงจมูก
การรักษาถุงน้ำในรังไข่หลายใบด้วยยา
สาเหตุ
มีฮอร์โมนของเพศชาย(Testosterone)สูงกว่าปกติ
ผู้หญิงบางรายจะมีปริมาณฮอร์โมนโพรแลกสูง
ความผิดปกติของฮอร์โมนอินซูลินที่มากเกินไป
อาการ
ประจำเดือนมาไม่ปกติ
น้ำหนักตัวเพิ่มมากขึ้น
มีลักษณะทางร่างกายเปลี่ยนไป เช่น ผมบางลง,ขนขึ้นตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
ภาวะมีบุตรยาก
มีรอยดำตามข้อพับ
ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ
ภาวะที่ต่อมไทรอยด์สร้างฮอร์โมนออกมามากเกินไป
ระบบเผาผลาญทำงานมากขึ้น ทำให้น้ำหนักลดอย่างรวดเร็ว
อาการ
อารมณ์แปรปรวน
นอนหลับยาก
มีปัญหาสายตา
มีปัญหาสุขภาพหนังศีรษะ
รอบเดือนผิดปกติ (หญิง)
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
หัวใจเต้นเร็ว
เหงื่อออกมาก
น้ำหนักลด
อยากอาหารมากขึ้น
เต้านมมีขนาดใหญ่ขึ้นในเพศชาย
สาเหตุ
ร่างกายหลั่งฮอร์โมนไทโรซีนออกมามากผิดปกติ
รับประทานอาหารที่มีไอโอดีนมากเกินไป
เนื้องอกที่เกิดบริเวณไทรอยด์
การอักเสบของต่อมไทรอยด์
เสริมฮอร์โมนไทรอยด์ที่มากเกินไป
โรคเบาหวาน
อาการ
ปากแห้ง
เห็นภาพไม่ชัด
บาดแผลหายยาก
มีอาการเหน็บชา
กระหายน้ำมาก
นำ้หนักลด/ดพิ่มผิดปกติ
ดูดกลับน้ำตาลในเลือดมาเป็นพลังงานไม่เต็มที่
เกิดปัญหาที่ต่อมไร้ท่อของตับอ่อน
แบ่งเป็น 3 ประเภท
2.อินซูลินไม่เพียงพอในการใช้งานในการตั้งครรภ์
3.เกิดจากพันธุกรรม/แบบโมโนเจนิก
1.ไม่มาสารถผลิตฮอร์โมนอินซูลินได้
บรรเทาอาการได้โดย การฉีดอินซูลินให้กับผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน
โรคอิมมูน หรือ โรคภูมิต้านตัวเอง
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
โรคที่มีการทำลายเฉพาะอวัยวะ
โรคที่มีการทำหลายอวัยวะหลายระบบ
สาเหตุ
ผู้ที่มีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคภูมิต้านทานเนื้อเยื่อของตนเองจะมีความเสี่ยงสูงกว่า
การติดเชื้อหรือได้รับสารเคมีบางอย่าง
บางชาติพันธุ์มีความเสี่ยงสูงกว่าชาติพันธุ์อื่นๆ
อาหารที่มีไขมันและน้ำตาลสูง
ผู้หญิงมีความเสี่ยงมากกว่าผู้ชาย
การดูแลตนเองเมื่อเป็น
รับประทานยาตามที่แพทย์สั่ง
พบแพทย์ตามนัดหมาย
พักผ่อนให้เพียงพอ
ออกกำลังกายแบบพอเหมาะ
รักษาสภาพจิต
รับประทานอาหาร 5 หมู่
ฉีดวัคซีน
โรคเนื้องอกตับอ่อน
สาเหตุ
การสูบบุหรี่
รับประทานอาหารที่มีโปรตีนและไขมันสูง
โรคเบาหวาน
ผิดปกติทางพันธุกรรม
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
เนื้องอกของเซลล์ที่ผลิตน้ำย่อย
เนื้องอกของเซลล์ไอส์เล็ต
วินิจฉัย
การตรวจอัลตราซาวด์
ตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า MRI
ดูดเซลล์เพื่อตรวจหามะเร็งตับอ่อน
ตรวจด้วยเครื่อง CT scan
ส่องกล้องตรวจเนื้องอกตับอ่อน
นกเขาไม่ขัน
สาเหตุ
มีน้ำหนักเกิน
เกิดจากอายุที่เพิ่มขึ้น
การใช้ยาบางชนิด
สูบบุหรี่และดื่มเหล้าปริมาณมาก
ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัว
โรคเบาหวาน
โรคหัวใจ
ไขมันในเลือดสูง
โรคหลอดเลือด
เครียด วิตก ซึมเศร้า
อาการ
อวัยวะเพศชายไม่สามารถแข็งตัว
ภาวะอวัยวะเพศแข็งตัวได้ไม่นานพอที่จะมีเพศสัมพันธ์
หลั่งน้ำอสุจิเร็วหรือช้าเกินไป
การรักษา
ฉีดฮอร์โมนสังเคราะห์ เพื่อปรับระดับฮอร์โมนให้ปกติ
ใช้กระบอกสูญญากาศ
รับประทานยา
ผ่าตัดใส่แกนอวัยวะเพศเทียม
บำบัดด้วยวิธี Sensate Focus
โรคเนื้องอกในสมอง
อาการ
ปวดศีรษะบ่อยๆ
คลื่นไส้ อาเจียน
มีปัญหาในการพูด
เห็นภาพเบลอ
มีปัญหาในการได้ยิน
มีปัญหาในการเคลื่อนไหว /ทรงตัว
แขนขาอ่อนแรง
มีปัญหาด้านความจำ
การรักษา
การฉายแสง
การทำเคมีบำบัด
การผ่าตัด
เนื้อเยื่อเจริญเติบโตผิดปกติในเซลล์สมอง
ความรุนแรงแบ่งเป็น 4 ระดับ
เนื้องอกระดับปานกลาง
3.เซลล์มะเร็งอาจพัฒนามาจากก้อนเนื้องอกธรรมดา
1.เนื้องอกที่เป็นก้อนเนื้อธรรมดา
4.เป็นมะเร็งสมองชนิดร้ายแรง
โรคอ้วน
ร่างกายมีการสะสมของไขมันมากกว่าปกติ
สะสมพลังงานที่เหลือเอาไว้ในรูปของไขมัน
มี 2 ประเภท
อ้วนลงพุง
อ้วนทั้งตัว
วิธีป้องกัน
ออกกำลังกายเป็นประจำ
ลดอาหารที่มีพลังงานสูง
จำกัดปริมาณการทานอาหารในแต่ละครั้ง
ใส่ใจและหมั่นดูแลสุขภาพอย่างสม่ำเสมอ