Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 3 การพยาบาลมารดาที่มีภาวะตกเลือดหลังคลอด, *ข้อมูลกรณีศึกษา…
กรณีศึกษาที่ 3 การพยาบาลมารดาที่มีภาวะตกเลือดหลังคลอด
มารดาอายุ 35 ปี G6P3A2 GA 38+2 week. มีโรคประจำตัวโรคหอบหืด
สาเหตุ ( ปฤษภาพร ผลประสาร, 2564)
Uterine tone
ทารกน้ำหนัก 3800 กรัม
มดลูกขยายตัวมาก
ประสิทธิภาพในการคืนตัวกลับลดลง
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ให้สารน้ำอีกเส้นเป็น 0.9%NSS 100 ml +Synticinon 20 unit v drip 120ml/hr เพื่อช่วยเพิ่มการหดรัดตัวของมดลูก
กลไก
1 more item...
ผลข้างเคียง
1 more item...
กลุ่ม : กลุ่มยาฮอร์โมน
ให้Methergin 1 amp v stat เพื่อช่วยเพิ่มการหดรัดตัวของมดลูด
กลุ่มยา
1 more item...
กลไก
1 more item...
ผลข้างเคียง
1 more item...
การพยาบาลหลังการให้ยา
1 more item...
ตั้งครรภ์ 6 ครั้ง
กล้ามเนื้อมดลูกเหนื่อยล้า
เคยขูดมดลูก 1 ครั้ง
ภาวะติดตรึงบริเวณมดลูก
Duncan mechanism
เลือดออกตอนรกลอกตัว
Trauma
ผีเย็บฉีกขาดระดับ 2nd degree
Vessle damage
Tissue
ประเมินรกติด/รกค้างเพิ่มเติม
Thrombin
ประเมินผลทางห้องปฎิบัติการ ได้แก่ Platelet PT PTT INR เพิ่มเติม
คลำพบท้องน้อยโป่งตึง
สาเหตุมาจากกระเพาะปัสสาวะเต็มซึ่งจะไปขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก (สุดาใจห้าว,2564)
ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง ควรให้มารดาปัสสาวะภายใน 6 ชั่วโมง หากมารดาไม่สามารถปัสสาวะได้เอง จะต้องทำการสวนปัสสาวะให้(ปฤษดาพร ผลประสาน,2564)
estimate blood loss 700 ml
เสียเลือดมากกว่า 500 ml ถือว่ามีภาวะตกเลือดหลังคลอด ชนิด primary postpartum hemorrhage (สุดา ใจห้าว,2564)
hypovolum
venous return ลดลง
ส่งผลให้preload ลดลง
strok volum ลดลง
low cardiac output
blood pressurลดลง
ในกรณีศึกษา BP = 90/60 mmHg
1 more item...
กระตุ้นSympathetic
ผ่าน vagus nerve ลดลง
1 more item...
เปิดเส้นหลอดเลือดดำให้สารน้ำ RLS 100 ml free flow
มีคุณสมบัติคล้ายพลาสมา ให้ในผู้ป่วยที่มีการสูญเสียเลือดหรือพลาสมามีคุณสมบัติคล้ายพลาสมา เป็นสารน้ำประเภท crystalloid solution(นิภาวรรณ รัตนพิทักษ์
,2561)
เพื่อทดแทนปริมาณในร่างกายที่มีการสูญเสียไปทางเลือดในปริมาณมาก
การพยาบาล
แนะนำมารดาหลังคลอดตลอดจนญาติผู้ดูแลให้ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกหากมดลูกมต้องสอนวิธีคลึงมดลูกอย่างนุ่มนวลทำจนกระทั่งมดลูกหดรัดตัวแข็งจึงหยุดคลึง แต่ต้องระวังไม่ต้องคลึงตลอดเวลาและไม่บีบเค้นจนทําให้มดลูกตรวจการบวมเลือด
ให้บริการพยาบาลได้นำ Family Centered Maternity Care -FCMC ครอบครัวคือกำลังใจหลักสำหรับมารดาในช่วงปริกำเนิด ซึ่งรวมถึงมารดาหลังคลอดในภาวะที่มีภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด ได้แก่ การตกเลือดหลังคลอด FCMC ยังเป็นปรัชญาที่สนับสนุนความพยายามในการตอบสนองความต้องการและความปรารถนาพิเศษที่สามารถตอบสนองได้ผ่านกระบวนการพยาบาล เพื่อให้ผู้ป่วยมีการปรับตัวรับมือทั้งร่างกาย จิตใจ (Diyan Indriyanin and Moses Glorino Rumando Pandin, 2021)
ประเมินเลือดที่ออกเป็นระยะ โดยการนำผ้าอนามัยมาชั่ง
1) ขนาดเส้นศูนย์กลาง <1 นิ้วเทียบปริมาณของเลือดที่เสียไป 10 มิลลิลิตร
2) ขนาดเส้นศูนย์กลาง 1-4 นิ้วเทียบปริมาณของเลือดที่เสียไป 10-25 มิลลิลิตร )
3) ขนาดเส้นศูนย์กลาง 4-6 นิ้วเทียบปริมาณของเลือดที่เสียไป 25-50 มิลลิลิตร
4) ขนาดเส้นศูนย์กลาง> 6 นิ้วเทียบปริมาณของเลือดที่เสียไป 60-100 มิลลิลิตร
เตรียมเลือดทดเเทน เพื่อให้ผู้ป่วยได้ทันที ในกรณีที่มีการสูญเสียเลือดมากขึ้น
งานวิจัย: แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการป้องกันตกเลือดหลังคลอด 4Rs(ทิพวรรณ์ เอี่ยมเจริญ,2560)
Recognition and Prevention คือ การรับรู้และการป้องกัน
การรับรู้ถึงปัจจัยเสี่ยงของ การตกเลือดและทำการป้องกัน ซึ่งกิจกรรมสำคัญ ประกอบด้วย การประเมินปัจจัยเสี่ยงต่อการตกเลือด จากการซักประวัติ และป้องกันด้วย AMTSL ในระยะคลอด โดยทำในสตรีต้ังครรภ์ทุกราย
Readiness คือ การเตรียมความพร้อม
การเตรียมความพร้อมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ห้องปฏิบัติการ ธนาคารเลือด ห้องคลอด หน่วยหลังคลอด ซึ่งหน่วยงานต้องเตรียมพร้อมในทุกๆด้าน ได้แก่ บุคลากร (Simulation/team drills) ชุดเครื่องมือหรือรถ ตกเลือด (Hemorrhage cart/kits)
Response คือ การตอบสนอง
Response คือ การตอบสนอง หมายถึง การปฏิบัติการดูแลรักษาเมื่อเกิดการตกเลือดหลังคลอด ได้อย่างรวดเร็ว (Rapid response team) และมีระบบ ที่ชัดเจน (Checklist) ซึ่งต้องฝึกปฏิบัติทักษะในการช่วยเหลือดูแลภาวะตกเลือดหลังคลอดอย่างสม่ำเสมอ
Reporting and Learning คือ การรายงานและการเรียนรู้
การสร้างวัฒนธรรมของการเห็นความสำคัญของข้อมูลปัจจัยเสี่ยงของผู้ป่วยและมีการส่งเวรกัน ทำสรุปหลังเกิดเหตุการณ์ ทบทวนเหตุการณ์ความผิดพลาดที่เกิดข้ึนโดยไม่กล่าวโทษตัวบุคคลเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันในทีมและติดตามกระบวนการและผลลัพธ์ของการทบทวน
ตรวจการบวมเลือดของอวัยวะสืบพันธุ์หลังคลอด (hematoma) ปกติบริเวณบวมเลือดจะแข็งเวลาสัมผัสจะรู้สีกเจ็บปวดมากการป้องกันการเลือดคั่งใต้ผิวหนังโดยประคบความเย็นบริเวณฝีเข็มในชั่วโมงแรกหลังคลอดรวมถึงการประเมินแผลฝีเย็บตามอาการแสดงที่สําคัญ 5 ประการที่เรียกว่าประเมินตาม "REEDA” ดังนี้ (ปฤษดาพร ผลประสาน,2564)
-Redness หมายถึงอาการแดงถ้ามีอาการแดงบริเวณแผลฝีเย็บแตกแล้วไม่เจ็บมากอาจเนื่องจากมีการอักเสบจากขบวนการหายของแผลตามปกติ แต่ถ้าแผลแตงและเจ็บปวดมากบ่งถึงภาวะติดเชื้อ
-Edema หมายถึงอาการบวมถ้าแผลฝีเย็บบวมเล็กน้อยถือเป็นภาวะปกติ แต่ถ้าบวมมากอาจจะรบกวนขบวนการหายของแผล
-Ecchymosis (bruising) หมายถึงอาการห้อเลือดถ้าอาการห้อเลือดเกิดเฉพาะบริเวณผิวหนังเพียงเล็กน้อยถือว่าปกติ แต่ถ้าเกิดบริเวณกว้างอาจเกิดจาก hematoma ซึ่งจะรบกวนขบวนการหายของแผล
-Discharge หมายถึงงดหลั่งออกจากแผลฝีเย็บโดยปกติไม่ควรมี discharge ไหลออกจากบริเวณแผลฝีเย็บ แต่ถ้ามีงดหลั่งออกจากแผลฝีเย็บอาจจะมีการติดเชื้อที่แผลฝีเย็บ-Approximation หมายถึงการชิดกันของขอบแผลฝีเย็บ
-Approximation หมายถึงการชิดกันของขอบแผลฝีเย็บแผลฝีเย็บปกติชอบแผลฝีเย็บควรตกัน แต่หากประเมินพบว่าชอบแผลฝีเย็นไม่ชิดกันอาจจะมีผลต่อขบวนการหายของแผลรวมถึงอาจเกิดจาก hematoma
*
ข้อมูลกรณีศึกษา ตัวอักษรสีแดง
*
การพยาบาลตัวอักษรสีเหลือง