Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สตรีตั้งครรภ์ที่เป็นโรค SLE (SLE in Pregnancy), images (1), images (2),…
สตรีตั้งครรภ์ที่เป็นโรค SLE (SLE in Pregnancy)
Systemic Lupus Erythematosus (SLE)
เกิดจากความผิดปกติของ Immune system ทำให้มีการสร้าง antibodies หลายชนดต่อเซลล์และส่วนประกอบต่างๆของเซลล์ของตนเอง(autoantibodies)ทำให้เกิดการอักเสบของอวัยวะในร่างกาย
สาเหตุ
ปัจจัยด้านพันธุกรรม
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
ลักษณะอาการทางคลินิก
ระบบผิวหนัง
Acute Cutaneous LE (ACLE)
Malar erythema /Butterfly rash ผื่นแดงบริเวณโหนกแก้ม
Photosensitivity ผื่นหลังการสัมผัสแสงแดด
Raynaudís phenomenon
Diffuse hair loss
Vasculitis
Chronic Cutaneous LE (CCLE)
discoid lupus erythematosus (DLE)
ผื่นนูนแดง
ระบบกระดูก และกล้ามเนื้อ
Musculoskeletal pain
Arthritis
ข้อบวมแดงร้อนตั้งแต่ 2 ข้อขึ้นไป
ระบบทางเดินปัสสาวะ
Lupus nepharitis
Hematuria
Proteinuria
Rapidly progressive glomerulonephrtis/Renal Failure
ระบบประสาท
Cognitive defects
Psychosis
Myelopathy
Peripheral neuropathies
ระบบหัวใจ และการไหลเวียนเลือด
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ (Myocarditis)
ภาวะหัวใจล้มเหลว (Congestive Heart Failure)
เยื่อบุหัวใจอักเสบ (Endocarditis)
โรคลิ้นหัวใจ (valvular heart disease, VDH)
ระบบโลหิต
Autoimmune Hemolytic Anemia (AIHA)
Neutropenia
lymphopenia
Thrombocytopenia
ระบบทางเดินหายใจ
Acute lupus pneumonitis
Pulmonary hemorrhage
Diffuse intersititial lung disease
Pulmonary embolism
Pulmonary hypertension
pulmonary function test ผิดปกติ
ระบบทางเดินอาหาร
GI vasculitis
Diarrhea
hepatomegaly
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติเช่น ไข้เรื้อรังไม่ทราบสาเหตุ
2.การตรวจร่างกาย
อุณหภูมิสูงกว่าปกติ
ผื่นบริเวณใบหน้าบริเวณสันจมูกไปบริเวณโหนกแก้มทั้ง 2 ข้าง เป็นรูปผีเสื้อ
แผลในปากเป็นๆหายๆ
ปวดข้อ ข้ออักเสบ
ความดันโลหิตสูง
บวม ปวดศรีษะ ตาพร่ามัว
อาการทางจิต หูแว่ว ประสาทหลอน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Antinuclear antibodies: ANA
Double standard DSN: anti-ds DNA
Smith antigen(anti Sm)
ตรวจพิเศษ
MRI สมองในรายที่มีอาการทางสมอง
ถ่ายภาพรังสีทรวงอกในรายที่สงสัยปอดอักเสบ
การรักษา
1.ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ (corticosteroids)
Prednisolone 5 mg.
2.ยากดภูมิคุ้มกัน (immunosuppressive drugs)
ได้แก่ cyclophosphamide, azathioprine, cyclosporine และ mycophenolate mofetil**
3.ยาปรับเปลี่ยนภูมิ (immunomodulatory drugs) ได้แก่ ยาต้านมาลาเรีย (antimalarial drugs)
hydroxychroroquine (HCQ) และ chroroquine (CQ), อิมมูโนโกลบูลิน (intravenous immunoglobulin)
4.ยาที่ออกฤทธิ์จำเพาะเจาะจง (targeted therapy)
เช่น anti-CD20 monoclonal antibodies และ anti-B-cell activating factor (BAFF) monoclonal antibody
ภาวะแทรกซ้อนของทารกจากมารดาที่เป็นโรคSLE
1.Fetal loss
เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดทารกเสียชีวิตในครรภ์ โดยเฉพาะในรายที่มี active SLE ,Lupus nephritis ,antiphospholipid syndrome
2.Fetal growth restriction
ภาวะทารกโตช้าในครรภ์,ทารกน้ำหนักตัวน้อย โดยเฉพาะในรายที่มี active SLE ,Lupus nephritis และ hypertension**
3.Neonatal lupus
อาการทางผิวหนัง เป็นผื่นแดงรูปวงกลม/รี บริเวณใบหน้า หนังศรีษะ ลำตัว พบช่วง 6 สัปดาห์หลังคลอด และจะหายได้เองเหลือแผลเป็นเล็กน้อย
ภาวะThrombocytopenia
ภาวะนี้จะกลับสู้ภาวะปกติได้เอง
4.Congenital heart block
อาการทางหัวใจพบลักษณะหัวใจที่มีจังหวะเต้นผิดปกติจากความผิดปกติของการนำกระแสไฟฟฟ้าของหัวใจ เช่น first-degree congenital heart block ,second-degree congenital heart block ,third-degree congenital heart block,
ผลของการตั้งครรภ์ต่อ SLE
1.การตั้งครรภ์อาจทำให้โรคกำเริบได้
รายที่เริ่มตั้งครรภ์ในคณะที่ยังไม่ได้ควบคุมอาการให้อยู่ในระยะสงบ(remission)
รายที่เมื่อทราบว่าตั้งครรภ์ก็หยุดยากดภูมิคุ้มกันที่ใช้ควบคุมโรค เเพราะกลัวมีผลต่อทารก
2.รายที่ควบคุมโรคได้ดี และโรคอยู่ในภาวะสงบตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ การกำเริบขณะตั้งครรภ์ต่ำมาก
3.รายที่มีพยาธิสภาพที่ไตจาก Lupus nephritis)มีแนวโน้มกำเริบง่าย มักมีความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
4.อาการบวม การมีโปรตีนในปัสสาวะ และการมีความดันโลหิตสูงในระยะตั้งครรภ์ทำให้แยกยากระหว่าง Lupus nephritisและ PIH
ผลของ SLE ต่อการตั้งครรภ์
1.การคลอดก่อนกำหนด
2.การผ่าคลอด
3.PIH ,pre eclampsia,eclampsia,HELLP syndrome
4.ภาวะทารกโตช้าในครรภ์
นางสาวปาริชาติ ต้มกลั่น รหัส63019973
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.(2562).การพยาบาลและการผดุงครรภ์ สตรีที่มีภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อน.(พิมพ์ครั้งที่ 1).บริษัทสมาร์ทติ้งแอนต์เซอร์วิส จำกัด
อ้างอิง