Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แลการดูแลผู้ป่วยที่รับรังสีรักษาและเคมีบำบัด - Coggle Diagram
แลการดูแลผู้ป่วยที่รับรังสีรักษาและเคมีบำบัด
ผลข้างเคียงจากรังษีรักษา
น้ำหนักตัวลด ,เหนื่อยง่าย เพลีย ,เบื่ออาหาร ,ผมร่วง ,ปวด ,เยื่อบุอักเสบ ,สูญเสียการรับรส ,พังผืด ,ผิวไหม้ ,กลืนลำบาก ,มีบตรยากและความต้องการลดลง ,มีเสมหะ ,โรคโลหิตจาง นิวโทรพีเนียต่ำ
ความหมาย
ยาเคมีบำบัด หมายถึง สารเคมีที่ออกฤทธิ์ต้านหรือทำลายเซลล์มะเร็ง
รังสีรักษา หมายถึง การใช้รังสีซึ่งเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีพลังงานสูงจนเกิดการแตกตัวเป็นไอออนไปทำลายโครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์มะเร็ง
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษาและเคมีบำบัด
การดูแลระหว่างรับการรักษา
การเฝ้าระวังภาวะฉุกเฉินจากการได้รับยาเคมีบำบัด
Allergic Reaction : ภาวะภูมิไวเกิน
Extravasation :ภาวะที่ยาวรั่วออกนอกเส้นเลือดและทำปฏิกิริยาต่อเนื้อเยื่อบริเวณโดยรอบ(ปวด บวม แดง ร้อน)
ดูแลตามผลข้างเคียงที่เกิดขึ้น
ผมร่วง : ส่งเสริมภาพลักษณ์ ดูแลความสะอาดผิวหนัง ลดการใช้สารเคมีดัด/ย้อม
N/V : ดูแล Oral care , ดูแลการรับสารอาหารได้น้ำให้เพียงพอ ให้ยาบรรเทา N/V
เม็ดเลือดขาวต่ำ : ป้องกันการติดเชื้อ , ดูแลความสะอาดร่างกายรวมถึงช่องปาก
ผิวแห้งหรือเกิดแผลไม่จากการรับรังสี : ดูแลผิวหนังให้แห้งสะอาด ไม่อับชื้น , งดการแกะเกา ,ดูแลทาผิวหนังให้ชุมชื่นด้วย Mebo cream
ซีด/อ่อนเพลีย : ดูแลรับประทานอาหารที่เสริมสร้างเม็ดเลือดแดง , ดูแลการพักผ่อน
เยื่อบุช่องปากอักเสบ : Oral care , แดูแลรับประทานอาหารอ่อน รสไม่จัด
แลการดูแลหลังรับการรักษา
ประทานยาการรับประทานยา
การดูแลช่องปาก
การเฝ้าระวังการติดเชื้อ
การดูแลการขับถ่ายปัสสาวะ/อุจจาระ
การรับประทานอาหาร
การคุมกำเนิด
การดูแลจะคล้ายกับขณะรับเคมีบำบัดและรังสีรักษา โดยดูแลต่อเนื่องอย่างน้อย 3-6 สัปดาห์หลังรับการรักษาครั้งสุดท้าย
การดูแลก่อนรับการรักษา
ประเมินการรับรู้ข้อมูลของผู้ป่วยและครอบครัว
แผนการรักษาที่ได้รับและผลข้างเคียง
ทัศนคติ/ความเชื่อ/ความคาดหวังในการรักษา
ชนิด/ระยะของโรค
ประวัติการรักษา
การเตรียมความพร้อมเข้าสู่กระบวนการรักษา
ประเมินด้านจิตใจ
ความเครียด/วิตกกังวล/Sulpicidal
ผลกระทบของโรคต่อตนเอง ครอบครัว และฐานะทางเศรษฐกิจ
ประเมินด้านร่างกาย
ตรวจร่างกาย : น้ำหนัก, ส่วนสูง , BMI ,V/S
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ : CBC , BUN, Electrolyte , LFT , Film X-Ray , MRI
ซักประวัติ : โรคประจำตัว , ประวัติการรักษา/ให้ยาครั้งก่อน , ประจำเดือน
ตัวอย่างข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่เสียงต่อการได้รับสารอาหารและน้ำไม่เพียงพอ เนื่องจากมีอาการคลื่นไส้และอาเจียน
มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับโรคและแผนการรักษา
เสี่ยงต่อภาวะเลือดออกง่ายและหยุดยาก เนื่องจากมีภาวะเกร็ดเลือดต่ำ (Thrombocytopeia)
ไม่สุขสบายจากอาการเจ็บปากและคอ
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะติดเชื้อในร่างกาย เนื่องจากมีภาวะภูมิต้านทานต่ำ (Neutropenia)