Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยทางนรีเวช - Coggle Diagram
ปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยทางนรีเวช
ความผิดปกติท่ีพบได้บ่อยทางนรีเวชในแต่ละช่วงวัย
ความผิดปกติทางนรีเวชที่พบบ่อยใน
สตรีวัยเจริญพันธ์
Cervical cancer
Endometriosis
Benign ovarian tumor
Ovarian Cancer
Ectopic pregnancy
ความผิดปกติทางนรีเวชที่พบบ่อยใน
สตรีวัยหมดระดู
Cervical cancer
Ovarian cancer
Uterine prolapse
Endometrial cancer
Vaginal prolapse
Valvar cancer
Abnormal Uterine Bleeding: AUB
ความผิดปกติทางนรีเวชท่ีพบบ่อยใน
สตรีเด็กวัยรุ่น
Anovulatory Dysfunctional Uterine Bleeding
Sexually Transmitted Disease: STDs
Imperforate hymen
Pelvic Inflammatory Disease: PID
Primary dysmenorrhea
Ectopic pregnancy
Primary amenorrhea
Germ cell tumor
การซักประวัติทางนรีเวช
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว (Family history)
ประวัติประจำเดือน (Menstrual history)
ประวัติเจ็บป่วยในอดีต (Past illness)
Sexuality History
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน (Present illness)
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอด
สำคัญหรืออาการนำ(Chief Complaint)
ประวัติการคุมกำเนิด
ข้อมูลส่วนตัว (Personal information)
ประวัติทางจิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
ประวัติความผิดปกติตามระบบ : ซักประวัติ และตรวจร่างกายตามระบบ เพื่อประเมินเช่นเดียวกับผู้ป่วยทั่วไป
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อตรวจวินิจฉัยโรคทางนรีเวช
การเตรียมด้านสังคมและจิตวิญญาณ
ค่าใบ้จ่ายในการรักษาพยาบาล
ผลกระทบจากการเจ็บป่วยต่อบทบาททางสังคม หน้าที่การงาน บทบาทในครอบครัว
ผู้ให้การสนับสนุนทางสังคม
การเตรียมด้านร่างกายก่อนการตรวจ PV
งดการสวนล้างงดการสวนล้างช่องคลอด งดการสอดยาทางช่องคลอดภายใน 24 ชั่วโมงก่อนตรวจ
ไม่ควรมี SI ก่อนตรวจอย่างน้อย 1-3 วัน
แจ้งให้ทราบควรมารับการตรวจขณะไม่มีประจำเดือน ยกเว้ยกเว้นหากมีประจำเดือนออกมานานหรือมีความผิดปกติ ให้รีบมาตรวจวินิจฉัยโดยเร็ว
ให้ปัสสาวะก่อนตรวจ
จัดจัดท่าให้เหมาะสมกับการตรวจ ปิดตาผู้ป่วย เปิดเฉพาะบริเวณที่ต้องการตรวจ จัดสิ่งแวดล้อมให้มิดชิด
การเตรียมด้านจิตใจ
การดูแลผู้การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจอวัยวะสืบพันธุ์ภายในของสตรี
แนะนำการปฎิบัติแนะนำการปฏิบัติตัวขณะตรวจ : ไม่เกร็งหน้าท้อง ไม่ถอยหนี หย่อนก้นลง ไม่หนีบขา
หลัหลังตรวจเรียบร้อยแล้ว ช่วยเหลือผู้ป่วยลงจากเตียงตรวจก่อนเสมอ
ให้กำลังใจได้อยู่เป็นเพื่อนคณะแพทย์ตรวจ
ให้ให้เปลี่ยนเครื่องแต่งกายให้เรียบร้อย ดูแลเก็บของส่วนตัวออกจากห้องตรวจ
จัดเตรียมท่า Lithotomy position ปิดตา
แนะนำให้แนะนำให้นั่งรอหน้าห้องตรวจ เพื่อรับฟังผลการตรวจ
การรักษา
กั้นม่าน ปิดประตูห้องตรวจ ไม่อนุญาตให้ผู้อื่นเข้าโดยไม่ได้รับอนุญาต
ภายหลังพบแพทย์
แนะนำเกี่ยวกับแนะนำเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องสังเกตและระวังหลังการตรวจ
เปิดโอกาสให้ซักถาม
เน้นย้ำการมาตรวจตามนัดและฟังผลการตรวจตามวันและเวลาที่นัดหมาย
ให้ให้ถ่ายปัสสาวะก่อนตรวจ
ให้ให้เปลี่ยนผ้าถุง ถอดกางเกงฉันในออก
การพยาบาลสตรีที่ได้รับการผ่าตัดทางนารีเวช
การพยาบาลหลังผ่าตัด
เฝ้าระวัง Internal bleeding
การผ่าตัดทางช่องคลอดมักเกิดปัญหาปัสสาวะคั่งค้าง
ดูแลเหมือนผู้ป่วยทั่วไปที่ได้รับการผ่าตัด
ให้คำแนะนำก่อนจำหน่าย
การรักษาความสะอาดร่างกายและอวัยวะสืบพันธุ์
การดูแลแผล การตัดไหม
การพักผ่อน
การงดมี SI 6สัปดาห์หลังผ่าตัด หรือก่อนมาตรวจตาม
อาการที่ต้องมาพบแพทย์ก่อนวันนัด : ไข้สูง ปวดท้องน้อย แผลบวมอักเสบ มีหนองหรือเลือดที่แผล หรือทางช่องคลอด
การรับประทานอาหาร และยา
การบริหารร่างกายและการออกกำลังกาย การบริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน Kegel exercise
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
การเตรียมร่างกายทั่วไป
การให้คำแนะนำก่อนผ่าตัด
การประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกที่ได้รับรังสีรักษา
การให้คำแนะนำในการดูแลตนเองหลังสอดใส่แร่
มารับรับการสอดใส่แร่ครบตามแผนการรักษา ถ้ามีปัญหาควรแจ้งเจ้าหน้าที่เพื่อเลื่อนนัดสอดใส่แร่หรือปรึกษาแพทย์ ไม่ควรหยุดไปเองเพราะจะไม่เป็นผลดีต่อการรักษา
รักษาความสะอาดของร่างกาย ทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ด้วยสบู่อ่อนๆ และน้ำสะอาด ใช้ผ้านุ่มๆซับให้แห้ง งดอาบน้ำหรือแช่น้ำในแม่น้ำลำคลอง น้ำตกและน้ำขังต่างๆ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ ถ้ามีเลือดหรือน้ำออกทางช่องคลอด ควรทำความสะอาดและเปลี่ยนผ้าอนามัยทุก 3-4 ชั่วโมง
ดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อยวันละ 8 แก้ว
งดมีเพศสัมพันธ์ระหว่างการรักษา เพื่อป้องกันการอักเสบของปากมดลูก
รับประทานอาหารที่สุก สะอาด มีคุณค่าครบทั้ง 5 หมู่ ควรงดอาหารรสเผ็ดหรืออาหารที่ทำให้ท้องเสีย
บริหารข้อสะโพกทุกวัน เพื่อป้องกันสะโพกยึดติด
หลังถอดเครื่องมือออกแล้วอาจมีเลือดออกได้บ้าง ควรใส่ผ้าอนามัยไว้ก่อน และควรนั่งพักจนกว่าจะหายอาการมึนงงจากฤทธิ์ยา
สังเกตอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นหลังสอดใส่แร่ เช่น มีเลือดออกมากหรือปวดท้องมาก เป็นต้น ถ้ามีอาการควรปรึกษาแพทย์
ขั้นตอนการสอดใส่แร่
ขั้นตอนที่ 2 การใส่เครื่องมือ
ขั้นตอนที่ 3 เอกเรย์ตรวจสอบตำแหน่ง
ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมตัว
ขั้นตอนที่ 4 การคำนวณแผนการรักษา
ขั้นตอนที่ 6 การนำเครื่องมือออกและกลับบ้าน
ขั้นตอนที่ 5 การรักษาด้วยแร่ Iridium
การปฏิบัติตัวภายหลัง
บริหารข้อสะโพกทุกวัน เพื่อป้องกันการยึดติด
รักษาความสะอาดของร่างกาย ทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ด้วยสบู่อ่อนๆ และน้ำสะอาด ใช้ผ้านุ่มๆซับให้แห้ง งดอาบน้ำหรือแช่น้ำในแม่น้ำลำคลอง น้ำตกและน้ำขังต่างๆ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ ถ้ามีเลือดหรือน้ำออกทางช่องคลอด ควรทำความสะอาดและเปลี่ยนผ้าอนามัยทุก 3-4 ชั่วโมง
ดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อยวันละ 8 แก้ว
ถ้าการเหน็บยาช่องคลอด ให้เหน็บยาก่อนนอน เริ่มเหน็บยาหลังการสอดใส่แร่ครบ 1 วัน
ในผู้ป่วยที่ไม่มีเพศสัมพันธ์ควรขยายช่องคลอดโดยใช้นิ้วมือที่ตัดเล็บสั้นและล้างมือให้สะอาดสอดนิ้วชี้เล่นนิ้วกลางเข้าช่องคลอดแยกนิ้วทั้งสองเข้า-ออกจากกัน 10 ครั้งเพื่อป้องกันช่องคลอดตีบตัน เริ่มขยายช่องคลอดภายหลังใส่แร่ครบ 1 เดือน
ใช้โลชั่นทานวดผิวบริเวณท้องน้อยและก้นอย่างสม่ำเสมอ
รับประทานอาหารที่สุก สะอาด มีคุณค่าครบทั้ง 5 หมู่ ควรงดอาหารรสเผ็ดหรืออาหารที่ทำให้ท้องเสีย
สามารถมีเพศสัมพันธ์ได้หลังการรักสาครบ 3 เดือน ขณะมีเพศสัมพันธ์ควรใส่ถุงยางอนามัยและใช้ K-Y jelly ในการหล่อลื่น
รังสีรักษาในผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก
แร่ Iridiumเป็นแท่งกลมๆเล็กๆควบคุมการเคลื่อนที่ด้วยระบบคอมพิวเตอร์
เป็นการรักษาด้วยรังสีระยะใกล้ เนื้องอก/ก้อนมะเร็งบริเวณที่อยู่ใกล้ต้นกำเนิดรังสีได้รับปริมาณรังสีสูง ในขณะที่เนื้อเยื่อปกติได้รับปริมาณรังสีน้อย
เป็นวิธีการหลักในการรักษามะเร็งปากมดลูก : การใช้รังสีและสอดใส่แร่ Iridium
ใช้ระยะเวลาการรักษาไม่นาน ไม่ต้องนอนโรงพยาบาล