Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยทางนรีเวช - Coggle Diagram
ปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยทางนรีเวช
สูติ-นรีเวช
สูติกรรม =ก่อนสมรส ก่อนตั้งครรภ์ มีบุตรยาก ตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด
นรีเวชกรรม = เด็ก วัยรุ่น วัยเจริญพันธุ์ วัยหมดระดู
ความผิดปกติที่พบได้บ่อยทางนรีเวชในแต่ละช่วงวัย
ความผิดปกติทางนรีเวชที่พบบ่อยในสตรีวัยเจริญพันธ์
Secondary amenorrhea
Secondary dysmenorrhea
Ovulatory DUB
Sexually Transmitted Disease: STDs
Pelvic Inflammatory Disease: PID
Ectopic pregnancy
Benign ovarian tumor
Myoma Uteri
Endometriosis
Ovarian Cancer
Cervical cancer
ความผิดปกติทางนรีเวชที่พบบ่อยในสตรีวัยหมดระดู
Abnormal Uterine Bleeding: AUB
Vaginal prolapse
Uterine prolapse
Cervical cancer
Ovarian cancer
Endometrial cancer
Valvar cancer
ความผิดปกติทางนรีเวชที่พบบ่อยในสตรีเด็กวัยรุ่น
Imperforate hymen
Anovulatory Dysfunctional Uterine Bleeding: AnovulatoryDUB
Primary dysmenorrhea
Sexually Transmitted Disease: STDs
Primary amenorrhea
Pelvic Inflammatory Disease: PID
Germ cell tumor
Ectopic pregnancy
อาการสาคัญของผู้ป่วยนรีเวชที่พบบ่อย
อาการเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด
มีเลือดออกหลังการมีเพศสัมพันธุ์ (postcoital bleeding)
มีเลือดออกหลังวัยหมดระดู (postmenopausal bleeding)
อาการตกขาว คันปากช่องคลอด หรือมีแผลบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
อาการปวด: ท้องน้อย หลัง เอว ปวดร้าว เจ็บปวดขณะมีเพศสัมพันธ์
คลำพบก้อน
อาการผิดปกติที่เกี่ยวกับการปัสสาวะ/อุจจาระ
อาการไข้ ร่วมกับอาการปวดท้องน้อย หรือมีสารคัดหลั่งผิดปกติทางช่องคลอด
ความผิดปกติของประจำเดือน
Oligomenorrhea : ระยะห่างของรอบประจำเดือนนานมากกว่า 35 วัน
Hypomenorrhea : ประจำเดือนมาน้อยกว่าปกติ
Menorrhagia : ประจ าเดือนมามาก มานานกว่า 7 วัน หรือระยะห่างของรอบเดือนน้อยกว่า 21 วัน
Menometrorhagia: ประจ าเดือนมามาก มานานกว่า 7 วัน ระยะห่างของรอบเดือนไม่สม่ำเสมอ
Metrorhagia: ประจำเดือนมาปริมาณปกติ แต่ระยะเวลาอาจมากกว่า 7 วัน และระยะห่างของรอบเดือนไม่ส่ำเสมอ
Hypermenorrhea : ประจ าเดือนมามาก และ มีลิ่มเลือด
Amenorrhea : ประจำเดือนหายไปมากกว่า 3-6 รอบเดือน
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อตรวจวินิจฉัยโรคทางนรีเวช
การเตรียมด้านร่างกายก่อนการตรวจ PV
งดการสวนล้างช่องคลอด งดการสอดยาทางช่องคลอดภายใน 24 ชั่วโมงก่อนตรวจ
ไม่ควรมี SI ก่อนตรวจอย่างน้อย 1-3 วัน
ให้ปัสสาวะก่อนตรวจ
จัดท่าให้เหมาะสมกับการตรวจ ปิดตาผู้ป่วย เปิดเฉพาะบริเวณที่ต้องการตรวจ จัดสิ่งแวดล้อมให้มิดชิด
แจ้งให้ทราบ ควรมารับการตรวจขณะไม่มีประจ าเดือน ยกเว้นหากมีประจำเดือนออกมานานหรือมีความผิดปกติ ให้รีบมาตรวจวินิจฉัยโดยเร็ว
การเตรียมด้านสังคมและจิตวิญญาณ
ประเมินและสนับสุนการเตรียมความพร้อมในเรื่องของความเชื่อทางจิตวิญญาณ
การตัดมดลูก = ไม่สามารถมีบุตร ไม่สามารถเป็นแม่ ความบกพร่องทางบทบาท
ให้ผู้ใกล้ชิดเข้ามาเป็นเพื่อนในห้องตรวจ
ประเมินและสนับสนุนSocial support, care giver
การเตรียมด้านจิตใจ
ขณะตรวจ
อยู่เป็นเพื่อน ให้การสัมผัสที่นุ่มนวล ปลอบโยนให้ก าลังใจ แสดงออกด้วยท่าทีที่เป็นมิตร แนะน าวิธีการผ่อนคลาย เคารพในความเป็นบุคคลของผู้ป่วย
หลังตรวจ
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังตรวจ การสังเกตอาการข้างเคียง อาการที่ต้องมาพบแพทย์ก่อนวันนัด การส่งตรวจเพื่อวินิจฉัยขั้นต่อไป
เคารพการตัดสินใจ เพื่อรับการตรวจวินิจฉัยโรค
ก่อนตรวจ
ชี้แจงวัตถุประสงค์และความจ าเป็นในการตรวจ
ให้คำแนะนำเบื้องต้นขั้นตอนในการตรวจ ข้อดีในการตรวจ และข้อเสียหากไม่ปฏิบัติตาม
การตรวจอวัยวะสืบพันธ์ภายในของสตรี (Pelvic examination: PV)
Speculum examination
ใช้speculum สอดเข้าในภายในช่องคลอด และถ่างขยายช่องคลอด เพื่อตรวจความผิดปกติของเยื่อบุช่องคลอด รอยย่น สีผนังกั้นช่องคลอด ปากมดลูก มูก สารคัดหลั่งในช่องคลอด การอักเสบ แผลต่างๆ
Bimanual examination
Digital examination
ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้คลำบริเวณส่วนล่างของ labia majora
บริเวณปากช่องคลอด ตำแหน่ง 4 และ 8 นาฬิกาเพื่อคลาbatholin’sgland
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจอวัยวะสืบพันธุ์ภายในของสตรี
แนะน าการปฏิบัติตัวขณะตรวจ : ไม่เกร็งหน้าท้อง ไม่ถอยหนี หย่อนก้นลง ไม่หนีบขา
การมีเลือดออกหลังตรวจ
Conbiopsy, LEEP : vaginal gauze packing เพื่อสังเกตอาการ
เมื่อเอาออกแนะน าให้ใส่ผ้าอนามัยไว้ และสังเกตอาการ
ให้ก าลังใจและอยู่เป็นเพื่อนขณะแพทย์ตรวจ
หลังตรวจเรียบร้อยแล้ว ช่วยเหลือผู้ป่วยลงจากเตรียงตรวจก่อนเสมอ
จัดเตรียมท่า Lithotomy position ปิดตา
ให้เปลี่ยนเครื่องแต่งกายให้เรียบร้อย ดูแลเก็บของส่วนตัวออกจากห้องตรวจ
กั้นม่าน ปิดประตูห้องตรวจ ไม่อนุญาตให้ผู้อื่นเข้าโดยไม่ได้รับอนุญาต
แนะน าให้นั่งรอหนาห้องตรวจ เพื่อรับฟังผลการตรวจ การรักษา
ให้ถ่ายปัสสาวะก่อนตรวจ
ให้เปลี่ยนผ้าถุง ถอดกางเกงชั้นในออก
การพยาบาลสตรีที่ได้รับการผ่าตัดทางนรีเวชและผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลสตรีที่ได้รับการผ่าตัดทางนรีเวช
ขณะผ่าตัด
Retained foley catheter with urine bag
ON IV fluid
ตรวจป้ายชื่อ-สกุลของผู้ป่วยให้ถูกต้อง เปลี่ยนเสื้อผ้าเป็นชุดผ่าตัด ให้ถอดฟันปลอม ของมีค่า อุปกรณ์หรือเครื่องประดับที่เป็นโลหะ
บันทึก I&O, Urine
ตรวจสอบใบเซ็นต์ยินยอมการผ่าตัด
ก่อนการผ่าตัด
ให้ข้อมูลผู้ป่วยและญาติทราบก่อนผ่าตัด เกี่ยวกับโรค ระยะเวลา และการดำเนินของโรค
การผ่าตัดที่จะได้รับ : ผ่าตัดอวัยวะใด และส่งผลต่อการด าเนินชีวิตอย่างไร
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ข้อดี ข้อเสีย ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากการผ่าตัด
การตรจร่างกาย : physical exam, PV
สภาพทั่วไปหลังการผ่าตัด
การซักประวัติ
หลังการผ่าตัด
ดูแลเหมือนผู้ป่วยทั่วไปที่ได้รับการผ่าตัด
เฝ้าระวัง Internal bleeding
การผ่าตัดทางช่องคลอดมักเกิดปัญหาปัสสาวะคั่งค้าง
ให้คำแนะนำก่อนจำหน่าย
การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกที่ได้รับรังสีรักษา
การให้คาแนะนาในการดูแลตนเองหลังสอดใส่แร่iridium
2.รับประทานอาหารที่สุก สะอาด มีคุณค่าครบทั้ง 5หมู่ ควรงดอาหารรสเผ็ด หรืออาหารที่ท าให้ท้องเสีย
3.ดื่มน ้าสะอาดอย่างน้อยวันละ 8แก้ว
1.หลังถอดเครื่องมือออกแล้วอาจมีเลือดออกได้บ้าง ควรใส่ผ้าอนามัยไว้ก่อน และควรนั่งพักจนกว่าจะหายอาการมึนงงจากฤทธิ์ยา
4.รักษาความสะอาดของร่างกาย ท าความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธ์ด้วยสบู่อ่อนๆ และน ้าสะอาด ใช้ผ้านุ่ม ๆ ซับให้แห้ง งดอาบน ้าหรือแช่ในแม่น ้า ล าคลอง น ้าตกและน ้าขังต่างๆ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ ถ้ามีเลือดหรือน ้าออกทางช่องคลอด ควรท าความสะอาดและเปลี่ยนผ้าอนามัยทุก 3 –4ชั่วโมง
5.งดมีเพศสัมพันธ์ระหว่างการรักษา เพื่อป้องกันการอักเสบปากมดลูก
6.บริหารข้อสะโพกทุกวัน เพื่อป้องกันข้อสะโพกยึดติด7.สังเกตอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นหลังสอดใส่แร่ เช่น มีเลือดออกมาก หรือ ปวดท้องมาก เป็นต้น ถ้ามีอาการควรปรึกษาแพทย์
8.มารับการสอดใส่แร่ครบตามแผนการรักษา ถ้ามีปัญหาควรแจ้งเจ้าหน้าที่เพื่อเลื่อนนัดสอดใส่แร่หรือปรึกษาแพทย์ ไม่ควรหยุดไปเองเพราะจะไม่เป็นผลดีต่อการรักษา
การปฏิบัติตัวภายหลังการรักษาครบ
1.รับประทานอาหารที่สุก สะอาด มีคุณค่าครบทั้ง 5หมู่ ควรงดอาหารรสเผ็ด หรืออาหารที่ท าให้ท้องเสีย
2.ดื่มน ้าสะอาดอย่างน้อยวันละ 8แก้ว
.รักษาความสะอาดของร่างกาย ท าความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธ์ด้วยสบู่อ่อนๆ และน ้าสะอาด ใช้ผ้านุ่ม ๆซับให้แห้ง งดอาบน ้าหรือแช่ในแม่น ้า ล าคลอง น ้าตกและน ้าขังต่างๆ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ ถ้ามีเลือดหรือน ้าออกทางช่องคลอด ควรท าความสะอาดและเปลี่ยนผ้าอนามัยทุก 3 –4ชั่วโมง
4.การเหน็บยาช่องคลอด ให้เหน็บยาก่อนนอน เริ่มเหน็บยาหลังการสอดใส่แร่ครบ 1วัน
5.สามารถมีเพศสัมพันธ์ได้หลังการรักษาครบ 3 เดือน ขณะมีเพศสัมพันธ์ควรใส่ถุงยางอนามัยและใช้ K-Y jelly ในการหล่อลื่น
6.ในผู้ป่วยที่ไม่มีเพศสัมพันธ์ ควรขยายช่องคลอดโดยใช้นิ้วมือที่ตัดเล็บสั้นและล้างมือให้สะอาด สอดนิ้วชี้และนิ้วกลางเข้าช่องคลอดแยกนิ้วทั้งสองเข้า-ออกจากกัน 10ครั้ง ท าขณะอาบน ้าวันละ 1ครั้ง เพื่อป้องกันช่องคลอดตีบตัน เริ่มขยายช่องคลอดภายหลังใส่แร่ครบ 1เดือน
7.บริหารข้อสะโพกทุกวัน เพื่อป้องกันการยึดติด
8.ใช้โลชั่นทานวดผิวบริเวณท้องน้อยและก้นอย่างสม ่าเสมอ