Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยทางนรีเวช - Coggle Diagram
ปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยทางนรีเวช
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อตรวจวินิจฉัยโรคทางนรีเวช
การเตรียมด้านจิตใจ
การเตรียมด้านสังคมและจิตวิญญาณ
การเตรียมด้านร่างกายก่อนการตรวจ PV
สูติกรรม
ก่อนสมรส ก่อนตั้งครรภ์ มีบุตรยาก ตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด
ความผิดปกติที่พบได้บ่อยทางนรีเวชในแต่ละช่วงวัย
ความผิดปกติทางนรีเวชที่พบบ่อยในสตรีเด็กวัยรุ่น
Primary amenorrhea
Primary dysmenorrhea
Imperforate hymen
Anovulatory Dysfunctional Uterine Bleeding: Anovulatory DUB
Sexually Transmitted Disease: STDs
Pelvic Inflammatory Disease: PID
Ectopic pregnancy
Germ cell tumor
ความผิดปกติทางนรีเวชที่พบบ่อยในสตรีวัยเจริญพันธ์
Secondary amenorrhea
Secondary dysmenorrhea
Ovulatory DUB
Sexually Transmitted Disease: STDs
Pelvic Inflammatory Disease: PID
Ectopic pregnancy
Benign ovarian tumor
Myoma Uteri
Endometriosis
Cervical cancer
Ovarian Cancer
ความผิดปกติทางนรีเวชที่พบบ่อยในสตรีวัยหมดระดู
Abnormal Uterine Bleeding: AUB
Vaginal prolapse
Uterine prolapse
Cervical cancer
Ovarian cancer
Endometrial cancer
Valvar cancer
การซักประวัติทางนรีเวช
Personal information
อายุ
สถานภาพสมรส
ศาสนา
ระดับการศึกษา
อาชีพ
รายได้
ลักษณะครอบครัว
ฐานะเศรษฐกิจ
Chief Complaint
อาการสำคัญที่นำมาโรงพยาบาลในครั้งนี้ ร่วมกับระยะเวลาที่เริ่มมีอาการ
อาการสำคัญของผู้ป่วยนรีเวชที่พบบ่อย
ความผิดปกติของประจำเดือน
Hypermenorrhea
Menorrhagia
Hypomenorrhea
Oligomenorrhea
Menometrorhagia
Metrorhagia
Amenorrhea
อาการเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด
มีเลือดออกหลังการมีเพศสัมพันธุ์ (postcoital bleeding)
มีเลือดออกหลังวัยหมดระดู (postmenopausal bleeding)
อาการตกขาว คันปากช่องคลอด หรือมีแผลบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
อาการปวด: ท้องน้อย หลัง เอว ปวดร้าว เจ็บปวดขณะมีเพศสัมพันธ์
Present illness
อาการที่เกิดขึ้นตั้งแต่เริ่มเจ็บป่วยจนกระทั่งนำมาสู่การมาโรงพยาบาลครั้งนี้ มีความสัมพันธ์กับอาการสำคัญ เรียงลำดับอาการก่อนหลัง
ระยะเวลาที่เริ่มเกิด ความรุนแรง
ตำแหน่ง
ลักษณะอาการ
Past illness
ประวัติการเจ็บป่วยครั้งก่อนๆ ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงก่อนการเจ็บป่วยครั้งนี้
การเจ็บป่วยทั่วไป การผ่าตัด การรักษาตัวในโรงพยาบาล อุบัติเหตุ
โรคประจำตัว
การใช้ยาประจ า (อดีต + ปัจจุบัน)
ประวัติการแพ้ยา แพ้สารเคมี
Family history
ภาวะสุขภาพและการเจ็บป่วยของบุคคลในครอบครัว ครอบคลุม 3 generation
Menstrual history
Onset
Duration
Interval
Pad/day
Amount and characteristic of menstruation
Dysmenorrhea
Premenstrual syndrome: PMS
Sexuality History
ถามรายละเอียดเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอด
ประวัติการคุมกำเนิด
ประวัติทางจิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
ประวัติความผิดปกติตามระบบ : ซักประวัติ และตรวจร่างกายตามระบบ เพื่อประเมินเช่นเดียวกับผู้ป่วยทั่วไป
นรีเวชกรรม
เด็ก วัยรุ่น วัยเจริญพันธุ์ วัยหมดระดู
การตรวจอวัยวะสืบพันธ์ภายในของสตรี (Pelvic examination: PV)
Digital examination
Speculum examination
Bimanual examination
Rectovaginal examination
การการพยาบาลสตรีที่ไดัรับการผ่าตัดทางนรีเวช
การประเมินผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ให้การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
ให้คำแนะนำผู้ป่วยก่อนกลับบ้าน
การให้คำแนะนำก่อนการผ่าตัด
ให้ข้อมูลผู้ป่วยและญาติทราบก่อนผ่าตัด
โรค ระยะเวลา และการดำเนินของโรค
การผ่าตัดที่จะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับหลังการผ่าตัด
การไม่มีประจำเดือน ไม่สามารถมีบุตร การขาดฮอร์โมนเพศ
ข้อดี ข้อเสีย ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากการผ่าตัด
การตกเลือดระหว่างหรือหลังผ่าตัด การติดเชื้อหลังผ่าตัด อวัยวะใกล้เคียงได้รับบาดเจ็บจากการผ่าตัด การค้างของน้ำปัสสาวะ
สภาพทั่วไปหลังการผ่าตัด
มีเสมหะคั่งค้างในทางเดินหายใจส่วนต้น ปวดแผลผ่าตัด ,IV, RC
แนวทางการรักษาด้วยวิธีอื่น เช่นเคมีบำบัด รังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกที่ได้รับรงสีรักษา
รังสีรักษาในผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก
เป็นวิธีการหลักในการรักษามะเร็งปากมดลูก : การฉายรังสี และสอดใส่แร่Iridium
แร่ Iridium เป็นแท่งกลม ๆ เล็ก ๆ ควบคุมการเคลื่อนที่ด้วยระบบคอมพิวเตอร์
สามารถวางแผนการรักษาล่วงหน้าแบบ 3D ท าให้ได้รับการรักษาที่ถูกต้องแม่นยำ
เป็นการรักษาด้วยรังสีระยะใกล้ เนื้องอก/ก้อนมะเร็งบริเวณที่อยู่ใกล้ต้นกำเนิดรังสีได้รับปริมาณรังสีสูง ในขณะที่เนื้อเยื่อปกติได้รับปริมาณรังสีน้อย
ใช้ระยะเวลาการรักษาไม่นาน
ภายหลังการรักษาแต่ละครั้งเม็ดแร่จะถูกน าออกจากตัวผู้ป่วย และไม่มีรังสีตกค้าง
ไม่ต้องนอนโรงพยาบาล
หากรักษาร่วมกับการฉายรังสี ให้หยุดการฉายรังสีในวันที่สอดใส่แร่ 1 วัน
การปฏิบัติตัวภายหลังการรักษาครบ
รับประทานอาหารที่สุก สะอาด มีคุณค่าครบทั้ง 5 หมู่ ควรงดอาหารรสเผ็ด หรืออาหารที่ท าให้ท้องเสีย
ดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อยวันละ 8แก้ว
รักษาความสะอาดของร่างกาย ทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธ์ด้วยสบู่อ่อนๆ และน้ำสะอาด ใช้ผ้านุ่ม ๆ ซับให้แห้ง
การเหน็บยาช่องคลอด ให้เหน็บยาก่อนนอน เริ่มเหน็บยาหลังการสอดใส่แร่ครบ 1 วัน
สามารถมีเพศสัมพันธ์ได้หลังการรักษาครบ 3 เดือน ขณะมีเพศสัมพันธ์ควรใส่ถุงยางอนามัยและใช้ K-Y jelly ในการหล่อลื่น
ในผู้ป่วยที่ไม่มีเพศสัมพันธ์ ควรขยายช่องคลอดโดยใช้นิ้วมือที่ตัดเล็บสั้นและล้างมือให้สะอาด สอดนิ้วชี้และนิ้วกลางเข้าช่องคลอดแยกนิ้วทั้งสองเข้า-ออกจากกัน 10 ครั้ง ทำขณะอาบน้ำวันละ 1 ครั้ง
บริหารข้อสะโพกทุกวัน เพื่อป้องกันการยึดติด
ใช้โลชั่นทานวดผิวบริเวณท้องน้อยและก้นอย่างสม่ำเสมอ
การให้คำแนะนำในการดูแลตนเองหลังสอดใส่แร่ iridium
หลังถอดเครื่องมือออกแล้วอาจมีเลือดออกได้บ้าง ควรใส่ผ้าอนามัยไว้ก่อน และควรนั่งพักจนกว่าจะหายอาการมึนงงจากฤทธิ์ยา
รับประทานอาหารที่สุก สะอาด มีคุณค่าครบทั้ง 5 หมู่ ควรงดอาหารรสเผ็ด หรืออาหารที่ทำให้ท้องเสีย
ดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อยวันละ 8แก้ว
รักษาความสะอาดของร่างกาย ทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธ์ด้วยสบู่อ่อนๆ และน ้าสะอาด ใช้ผ้านุ่ม ๆ ซับให้แห้ง
งดมีเพศสัมพันธ์ระหว่างการรักษา เพื่อป้องกันการอักเสบปากมดลูก
บริหารข้อสะโพกทุกวัน เพื่อป้องกันข้อสะโพกยึดติด
สังเกตอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นหลังสอดใส่แร่ เช่น มีเลือดออกมาก หรือ ปวดท้องมาก เป็นต้น ถ้ามีอาการควรปรึกษาแพทย์
มารับการสอดใส่แร่ครบตามแผนการรักษา ถ้ามีปัญหาควรแจ้งเจ้าหน้าที่เพื่อเลื่อนนัดสอดใส่แร่หรือปรึกษาแพทย์ ไม่ควรหยุดไปเอง เพราะจะไม่เป็นผลดีต่อการรักษา