Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่รับรังสีรักษาและเคมีบำบัด, นางสาวสร้อยสุดา ติ๊บอินถา…
การดูแลผู้ป่วยที่รับรังสีรักษาและเคมีบำบัด
รังสีรักษาและเคมีบำบัด
รังสีรักษา หมายถึง การใช้รังสีซึ่งเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีพลังงานสูงจนเกิดการแตกตัวเป็นไอออนไปทำลายโครงสร้างและหน้าที่ชของเซลล์มะเร็ง
ยาเคมีบำบัด หมายถึง สารเคมีที่ออกฤทธิ์ต้านหรือทําลายเซลล์มะเร็ง
เป้าหมายของการรักษาด้วยรังสีรักษาและเคมีบำบัด
Control
รักษาในผู้ป่วยที่มีการลุกลามจาก stage1,2ไป3,4
Palliative
การดูแลที่มุ่งเน้นในการบรรเทาความเจ็บปวด ทุกข์ทรมาน และปรับปรุงให้ผู้ป่วย มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
Curative
การดูแลเพื่อรักษาให้โรคหายไป
การพยาบาลผู้ป่วยที่รับรังสีรักษาและเคมีบำบัด
การดูแลก่อนรับการรักษา
ประเมินการรับรู้ข้อมูลของผู้ป่วยและครอบครัว
แผนการรักษาที่ได้รับและผลข้างเคียง
ทัศนคติ/ความเชื่อ/ความคาดหวังในการรักษา
ชนิด/ระยะของโรค
การเตรียมความพร้อมเข้าสู่กระบวนการรักษา
ประวัติการรักษา
ประเมินด้านจิตใจ
ความเครียด/วิตกกังวล/suicidal tendency
ผลกระทบของโรคต่อตนเอง ครอบครัวและฐานะทางเศรษฐกิจ
ประเมินด้านร่างกาย
ตรวจร่างกาย : น้ำหนัก, ส่วนสูง, bmi, v/s
ผลตรวจทางห้องปฎิบัติการ : Cbc, bun, Cr, electrolyte, lft, film x-ray, mri
ซักประวัติ : โรคประจำตัว, ประวัติการรักษา/ให้ยาครั้งก่อน, ประจำเดือน
การดูแลหลังการรักษา
การรับประทานยา
การดูแลช่องปาก
การเฝ้าระวังการติดเชื้อ
การดูแลการขับถ่ายปัสสาวะ/อุจจาระ
การรับประทานอาหาร
การคุมกำเนิด
การดูแลจะคล้ายกับขณะรับเคมีบำบัดและรังสีรักษา โดยดูแลต่อเนื่องอย่างน้อย 3-6 สัปดาห์ หลังรับการรักษาครั้งสุดท้าย
การดูแลระหว่างการรักษา
การเฝ้าระวังภาวะฉุกเฉินจากการรับยาเคมีบำบัด
ดูแลตามผลข้างเคียงที่เกิดขึ้น
ผลข้างเคียง
Weight loss
Dysphagia
Decreased appetitie
Skin burn
Taste alteration
Pain
Mucositis
fibrosis
Thick phlegm
Bone marrow suppression: Anemia,neutropenia
Hair loss (alopecia)
Diarrhea/constipation
Fatigue
Infertility and sex
อาการและอาการแสดง
Mood changes
Fatigue
Infertility
Numbness
Hair loss
Chemo brain
Anemia
Weight changes
Nausea
Easy bruising
นางสาวสร้อยสุดา ติ๊บอินถา 6201210095