Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยทางนรีเวช - Coggle Diagram
ปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยทางนรีเวช
สูติ-นรีเวชกรรม
สูติกรรม
ก่อนสมรส
ก่อนตั้งครรภ์
มีบุตรยาก
ตั้งครรภ์
คลอด
หลังคลอด
นรีเวชกรรม
เด็ก
วัยรุ่น
วัยเจริญพันธุ์
วัยหมดระดู
ความผิดปกติที่พบบ่อยทางนรีเวชในแต่ละช่วงวัย
ความผิดปกติในสตรีเด็กวัยรุ่น
Primary amenorrhea
Primary dysmenorrhea
Imperforate hymen
Sexually transmitted diseases : STDs
Germ cell tumor
ความผิดปกติในสตรีวัยเจริญพันธ์
Secondary amenorrhea
Secondary dysmenorrhea
Ovulatory DUB
Sexually transmitted diseases : STDs
Pelvic inflammatory disease : PID
Myoma Uteri
Endometriosis
Cervical cancer
Ovarian cancer
ความผิดปกติในสตรีวัยระดู
Cervical cancer
Ovarian cancer
Uterine prolapse
Endometrial cancer
Valvar cancer
Vaginal prolapse
Abnormal Uterine Bleeding : AUB
การซักประวัติทางนรีเวช
Personal information
อายุ
สถานภาพสมรส
ศาสนา
ระดับการศึกษา
อาชีพ
รายได้
ลักษณะครอบครัว
ฐานะเศรษฐกิจ
สิทธิในการรักษา
Chief Complaint
อาการสำคัญที่นำมาโรงพยาบาลในครั้งนี้ ร่วมกับระยะเวลาที่เริ่มมีอาการ
อาการสำคัญความผิดปกติของประจำเดือน
Hypermenorrhea : ประจำเดือนมามากและมีลิ่มเลือด
Menorrhagia : ประจำเดือนมานานกว่า 7 วัน
Hypomenorrhea : ประจำเดือนมาน้อยกว่าปกติ
Amenorrhea : ประจำเดือนหายไปมากกว่า 3-6 รอบเดือน
อาการตกขาว คันปากช่องคลอดหรือมีแผลบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
อาการปวด : ท้องน้อย เอว เจ็บขณะมีเพศสัมพันธ์
คลำพบก้อน
Present illness
อาการที่เกิดขึ้นตั้งแต่เริ่มเจ็บป่วยจนนำมาสู่การมาโรงพยาบาล : ระยะเวลา ตำแหน่ง ลักษณะอาการ อาการร่วมอื่นๆ
Past illness
ประวัติการเจ็บป่วยครั้งก่อนๆ ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงก่อนการเจ็บป่วยครั้งนี้
Family History
ภาวะสุขภาพและการเจ็บป่วยของบุคคลในครอบครัว
โรคถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Sexuality History
Privacy&Trust"มีแฟนหรือยัง ถ้ามีเคยมีอะไรมาก่อนหรือไม่"
ถามรายละเอียดเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์ : อายุที่เริ่มมีเพศสัมพันธ์, จำนวนคู่นอน, ความถี่, การมีเพศสัมพันธ์ขณะมีประจำเดือน, ปัญหาการมีเพศสัมพันธ์, อาการเจ็บปวด, โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอด
จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์ การแท้ง วิธีการคลอด น้ำหนักทารก ภาวะแทรกซ้อน การขูดมดลูก สุขภาพทั่วไป
G.P.A.L.
ประวัติการคุมกำเนิด
ประวัติทางจิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
ประวัติความปกติตามระบบ : ซักประวัติ ตรวจร่างกายตามระบบ เพื่อประเมินเช่นเดียวกับผู้ป่วยทั่วไป
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อตรวจวินิจฉัยโรคทางนรีเวช
การเตรียมด้านจิตใจ
การเตรียมด้านสังคมและจิตวิญญาณ
การเตรียมด้านร่างกายก่อนการตรวจ PV
เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการตรวจทางภายใน
Bivalve vaginal speculum
Long uterine packing forceps
Sterile cotton ball
Sterile groves
อ่างใส่ sterile water/NSS
K-Y jelly
การตรวจอวัยวะสืบพันธ์ภายในของสตรี
Digital Examination
ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้คลำบริเวณส่วนล่างของ labia majora
บริเวณปากช่องคลอด ตำแหน่ง 4และ8 นาฬิกา เพื่อคลำ batholin's gland
Speculum Examination
ใช้ Speculum สอดเข้าภายในช่องคลอดและถ่างขยายช่องคลอด
Bimanual Examination
Rectovaginal Examination
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจอัวยวะภายในของสตรี
ให้เปลี่ยนผ้าถุง ถอดกางเกงชั้นในออก
ถ่ายปัสสาวะก่อนตรวจ
กั้นม่าน
จัดท่า Lithoyomy position
ให้กำลังใจ
แนะนำการปฏิบัติตัวขณะตรวจ
เมื่อเอาออกแนะนำให้ใส่ผ้าอนามัยไว้และสังเกตอาการ
หลังตรวจเสร็จช่วยเหลือผู้ป่วยลงจากเตียง
เปลี่ยนการแต่งกายให้เรียบร้อย
แนะนำให้นั่งรอเพื่อฟังผลตรวจ
Pap smear
ข้อบ่งชี้ในการตรวจคัดกรองด้วย Pap smear
Uspstf : ควรทำทุก1 ปีตั้งแต่อายุ 18 ปีขึ้นไปเริ่มเว้นช่วงห่างเมื่ออายุ 30 ปีขึ้นไปหยุดทำเมื่ออายุ 70 ปี
Ctfphc : ควรทำทุก 1 ปี ในคนที่มีเพศสัมพันธ์หรือายุมากกว่า 18 ปี 2ครั้งติดต่อกันทำทุก 3 ปีจนถึงอายุ 69 ปี
คำแนะของนักวิชาการไทย : ควรทำทุก 1 ปีอายุ 35-55 ปีและแนะนำผู้ที่เคยมีเพศสัมพันธ์แล้ว ทำติดต่อกัน 3 ปีต่อไปทำทุก 3 ปี
การเตรียมเครื่องมือในการตรวจคัดกรอง
น้ำยารักษาสภาพเซลล์
แผ่น slide คลิปหนีบกระดาษและดินสอ
ไม้ Pap smear
การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกที่ได้รับรังสีรักษา
การเตรียมตัวก่อนสอดใส่แร่
ควรรับประทานอาหารอ่อน
นำอุปกรณ์และยาที่แพทย์สั่ง ผ้าอนามัย1-2ชิ้นมาโรงพยาบาล
ขั้นตอนการสอดใส่แร่
ขั้นที่ 1
ต้อนรับ แนะนำสถานที่
ให้ผู้ป่วยเปลี่ยนเสื้อผ้า
ประเมินอาการ โรคประจำตัว ประวัติการแพ้ พร้อมแนะนำการปฏิบัติตัว
ผู้ป่วยจะได้รับประทานยาแก้ปวดและคลายเครียด
ขั้นที่ 2
พาผู้ป่วยเข้าห้องใส่เครื่องมือ จัดท่า Lithoyomy
แพทย์จะส่สายสวนปัสสาวะคาไว้
แพท์ทำการตรวจภายในเพื่อดูขนาดของช่องคลอด การขยาย วัดความลึก จากนั้นสอดเครื่องมือเข้าไป
ขณะใส่อาจรู้สึกเจ็บ สามารถบรรเทาได้โดยหายใจเข้าลึกๆ ผ่อนลมออกทางปากช้าๆ
ขั้นที่ 3
เคลื่อนย้ายผู้ป่วยเข้าห้องเอกซเรย์
ใช้เวลา 3-15 นาที
แนะนำให้ผู้ป่วยนอนนิ่งๆ
ขั้นที่ 4
เคลื่อนย้ายผู้ป่วยเข้าสู่ห้องพักประเมินอาการ
จัดผ้ารองส้นเท้าให้ผู้ป่วย
คำนวณระยะเวลาในการใส่แร่
แนะนำให้ผู้ป่วยนอนนิ่งๆ เพื่อป้องกันเครื่องมือเคลื่อนจากตำแหน่ง
ขั้นที่ 5
เคลื่อนย้ายผู้ป่วยเข้าห้องแร่
ขณะรับการรักษาผู้ป่วยจะไม่รู้สึกเจ็บ แต่ควรกลั้นปัสสาวะและนอนนิ่งๆ จนกว่าจะครบเวลารักษา
ใช้เวลา 10-40 นาที
พยาบาลเฝ้าสังเกตอาการทางโทรทัศน์วงจรปิด
เมื่อครบเวลาเครื่องคอมพิวเตอร์จะนำแ่ออกจากตัวผู้ป่วย
ขั้นที่ 6
เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกจากห้องแร่ เพื่อเครื่องมือที่ใส่โพรงมดลูก ผ้าก๊อซและสายสวนปัสสาวะออก
ประเมินอาการภายหลังนำเครื่องมือออก
ผู้ป่วยปัสสาวะ เปลี่ยนเสื้อผ้า
คำแนะนำในการดูแลตัวเองหลังสอดใส่แร่
ควรใส่ผ้าอนามัยไว้ก่อนและควรนั่งพักจนกว่าอาการมึนงงหาย
รับประทานอาหารที่สุก สะอาด ครบ5หมู่ งดอาหารรสเผ็ด
ดื่มน้ำวันละ 8 แก้ว
รักษาความสะอาดของร่างกาย งดอาบน้ำในแม่น้ำ น้ำตกและน้ำขังต่างๆ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
งดมีเพศสัมพันธ์ระหว่างการรักษา
บริหารข้อสะโพกทุกวัน
สังเกตอาการผิดปกติที่อาจเกิดหลังการสอดใส่แร
มารับการสอดใส่แร่ครบตามแผนการรักษา