Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยทางนรีเวช - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยทางนรีเวช
สูติ-นรีเวชกรรม
สูติกรรม :ก่อนสมรส ก่อนตั้งครรภ์ มีบุตรยาก ตั้งครรภ์
คลอด หลังคลอด
นรีเวชกรรม :เด็ก วัยรุ่น วัยเจริญพันธุ์ วัยหมดระดู
ความผิดปกติที่พบได้บ่อย ทางนรีเวชในแต่ละช่วงวัย
ความผิดปกติทางนรีเวชที่พบบ่อยในสตรีเด็กวัยรุ่น
การขาดประจำเดือนปฐมภูมิ :ภาวะที่สตรีไม่เคยมี ประจำเดือนเลย ตั้งแต่สาว
ปวดประจำเดือนปฐมภูมิ :การปวดประจำเดือนที่ไม่มีโรคหรือพยาธิสภาพใดๆ เป็นการเกิดจากสาร Prostaglandin ที่หลั่งออกมาจากเยื่อบุโพรงมดลูกระหว่างการมีประจำเดือน ส่งผลให้กล้ามเนื้อมดลูกบีบตัว มีเลือดและออกซิเจนมาเลี้ยงมดลูกน้อยลง
เยื่อพรหมจรรย์ไม่เปิด
การที่มีเลือดประจำเดือนมาผิดปกติ
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคกระดูกเชิงกรานอักเสบ
การตั้งครรภ์นอกมดลูก
เนื้องอกเซลล์สืบพันธุ์
ความผิดปกติทางนรีเวชที่พบบ่อย
ในสตรีวัยเจริญพันธ์
การขาดประจำเดือนทุติยภูมิ:ภาวะที่สตรีเคยมี. ระดูมาก่อน แต่ต่อมามีการขาดระดูติดต่อกันอย่าง. น้อย 6 เดือน หรือ 3 รอบ
ปวดประจำเดือนทุติยภูมิ :อาการปวดประจำเดือนที่มีพยาธิสภาพ หรือโรคใดๆ ทำให้ปวด
กลุ่มที่มีการตกไข่ตามปกติ
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคกระดูกเชิงกรานอักเสบ
การตั้งครรภ์นอกมดลูก
ถุงน้ำและเนื้องอกไม่ร้ายที่รังไข่
เนื้องอกมดลูก
เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่
มะเร็งปากมดลูก
มะเร็งรังไข่
ความผิดปกติทางนรีเวชที่พบบ่อย
ในสตรีวัยหมดระดู
ภาวะเลือดออกผิดปกติจากมดลูก
-Vaginal prolapse
มดลูกหย่อน
มะเร็งปากมดลูก
มะเร็งรังไข่
มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก
มะเร็งปากช่องคลอด
การซักประวัติทางนรีเวช
Personal information
อายุ
สถานภาพสมรส
ศาสนา
ระดับการศึกษา
อาชีพ
รายได้
ลักษณะครอบครัว
ฐานะเศรษฐกิจ
สิทธิในการรักษา
Chief Complaint
อาการสำคัญที่นำมาโรงพยาบาลในครั้งนี้ ร่วมกับระยะเวลาที่เริ่มมีอาการ
มีไข้สูง ปวดท้องน้อยมา 2 วันก่อนมาโรงพยาบาล
ปวดท้องน้อยมากและเป็นลมหมดสติ ประมาณ 1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
อาการสำคัญของผู้ป่วยนรีเวชที่พบบ่อย
ความผิดปกติของประจำเดือน
Hypermenorrhea : ประจำเดือนมามาก และ มีลิ่มเลือด
Menorrhagia : ประจำเดือนมามาก มานานกว่า 7 วัน หรือระยะห่าง
ของรอบเดือนน้อยกว่า 21 วัน
Hypomenorrhea : ประจำเดือนมาน้อยกว่าปกติ
Oligomenorrhea : ระยะห่างของรอบประจำเดือนนานมากกว่า 35
วัน
Menometrorhagia : ประจำเดือนมามาก มานานกว่า 7 วัน
ระยะห่างของรอบเดือนไม่สม่ำเสมอ
Metrorhagia : ประจำเดือนมาปริมาณปกติ แต่ระยะเวลาอาจ
มากกว่า 7 วัน และระยะห่างของรอบเดือนไม่สม่ำเสมอ
Amenorrhea : ประจำเดือนหายไปมากกว่า
3-6 รอบเดือน
อาการเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด
อาการตกขาว คันปากช่องคลอด หรือมีแผลบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
ภายนอก
อาการปวด: ท้องน้อย หลัง เอว ปวดร้าว เจ็บปวดขณะมีเพศสัมพันธ์
คลำพบก้อน
Present illness
อาการที่เกิดขึ้นตั้งแต่เริ่มเจ็บป่วยจนกระทั่งนำมาสู่การมาโรงพยาบาลครั้งนี้ มีความสัมพันธ์กับอาการสำคัญ
ระยะเวลาที่เริ่มเกิด ความรุนแรง
ตำแหน่ง
ลักษณะอาการ
อาการเป็นอยู่ตลอดเวลาหรือไม่
อาการนั้นบรรเทาได้อย่างไร
เมื่อเกิดขึ้นแล้ว มีผลต่อการดำเนินชีวิตประจำวันหรือไม่ อย่างไร
Past illness
ประวัติการเจ็บป่วยครั้งก่อนๆ ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงก่อนการเจ็บป่วยครั้งนี้
การเจ็บป่ วยทั่วไป การผ่าตัด การรักษาตัวในโรงพยาบาล อุบัติเหตุ
โรคประจำตัว
การใช้ยาประจำ (อดีต + ปัจจุบัน)
ประวัติการแพ้ยา แพ้สารเคมี
Family history
ภาวะสุขภาพและการเจ็บป่วยของบุคคลในครอบครัว ครอบคลุม 3 generation
โรคถ่ายทอดทางพันธุกรรม : DM, thalassemia, TB, CA, โรคทางจิตเวช
Menstrual history
Onset
Duration
Interval
Pad/day
Amount and characteristic of
menstruation
Dysmenorrhea
Premenstrual syndrome: PMS
Sexuality History
Privacy & Trust
ถามรายละเอียดเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอด
จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์ การแท้ง วิธีการคลอดและการแท้ง น้ำหนักทารกแรก
เกิด ภาวะแทรกซ้อนจากการคลอดและการแท้ง การขูดมดลูก สุขภาพทั่วไปของ
มารดาและบุตรหลังคลอด
G. P. A. L.
ประวัติการคุมกำเนิด
เคยคุมกำเนิดหรือไม่
วิธีที่เคยใช้ในการคุมกำเนิด
ระยะเวลาที่ใช้ของแต่ละวิธี
อาการข้างเคียง
สาเหตุการเปลี่ยนหรือหยุดวิธีการคุมกำเนิด
ประวัติทางจิตใจ สังคม
และจิตวิญญาณ
อารมณ์ความรู้สึก
ความเชื่อที่มีต่อการเจ็บป่วยครั้งนี้
ประวัติความผิดปกติตามระบบ : ซักประวัติ และตรวจร่างกายตามระบบ เพื่อประเมินเช่นเดียวกับผู้ป่วยทั่วไป
ผิวหนัง
ศีรษะ ใบหน้า ลำคอ
ทรวงอก และทางเดินหายใจ เต้านม
หัวใจและหลอดเลือด
หน้าท้อง และทางเดินอาหาร
ระบบประสาท กล้ามเนื้อ และกระดูก
ทางเดินปัสสาวะ และอวัยวะสืบพันธุ์
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อตรวจวินิจฉัยโรค
การเตรียมด้านจิตใจ
ชี้แจงวัตถุประสงค์และความจ าเป็นในการตรวจ
อยู่เป็นเพื่อน ให้การสัมผัสที่นุ่มนวล ปลอบโยนให้กำลังใจ แสดงออกด้วยท่าทีที่เป็นมิตร แนะน าวิธีการผ่อนคลาย เคารพในความเป็นบุคคลของผู้ป่วย
ให้ค าแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังตรวจ การสังเกตอาการข้างเคียงอาการที่ต้องมาพบแพทย์ก่อนวันนัด การส่งตรวจเพื่อวินิจฉัยขั้นต่อไป
การเตรียมด้านสังคมและจิตวิญญาณ
ประเมินและสนับสนุน Social support,
care giver
ประเมินและสนับสุนการเตรียมความพร้อมในเรื่อง
ของความเชื่อทางจิตวิญญาณ
การเตรียมด้านร่างกายก่อนการตรวจ PV
แจ้งให้ทราบ ควรมารับการตรวจขณะไม่มีประจำเดือน ยกเว้นหากมีประจำเดือนออกมานานหรือมีความผิดปกติ ให้รีบมาตรวจวินิจฉัยโดยเร็ว
งดการสวนล้างช่องคลอด งดการสอดยาทางช่องคลอดภายใน 24 ชั่วโมงก่อนตรวจ
ไม่ควรมี SI ก่อนตรวจอย่างน้อย 1-3 วัน
ให้ปัสสาวะก่อนตรวจ
จัดท่าให้เหมาะสมกับการตรวจ ปิดตาผู้ป่วย เปิดเฉพาะบริเวณที่ต้องการตรวจ จัดสิ่งแวดล้อมให้มิดชิด
การเตรียมอุปกรณ์/ เครื่องมือที่ใช้สำหรับการตรวจทางภายใน
Bivalve vaginal
speculum
Long uterine packing
forceps
Sterile cotton ball
Sterile groves
อ่างสำหรับใส่ sterile water หรือ NSS
K-Y jelly
การตรวจอวัยวะสืบพันธ์ภายในของสตรี
Digital examination
-ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้คลำบริเวณส่วนล่างของ labia majora
บริเวณปากช่องคลอด ตำแหน่ง 4 และ 8 นาฬิกา เพื่อคลำ batholin’s gland
Speculum
examination
ใช้speculum สอดเข้าในภายในช่องคลอด และถ่างขยายเพื่อตรวจความผิดปกติ
ของเยื่อบุช่องคลอด
Bimanual examination
Rectovaginal
examination
การตรวจ Papanicolaou smear (Pap smear)
เป็นการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกระยะแรก (screening test)
ตรวจง่าย ราคาถูก แม่นยำสูงร้อยละ 90
หาความผิดปกติของเซลล์
posterior fornix
ปากมดลูกส่วนนอก (ectocervix)
ปากมดลูกส่วนใน (endocervix)
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจอวัยวะสืบพันธุ์ภายในของสตรี
ให้เปลี่ยนผ้าถุง ถอดกางเกงชั้นในออก
ให้ถ่ายปัสสาวะก่อนตรวจ
กั้นม่าน ปิดประตูห้องตรวจ ไม่อนุญาตให้ผู้อื่นเข้าโดยไม่ได้รับอนุญาต
จัดเตรียมท่า Lithotomy position ปิดตา
ให้กำลังใจและอยู่เป็นเพื่อนขณะแพทย์ตรวจ
แนะนำการปฏิบัติตัวขณะตรวจ : ไม่เกร็งหน้าท้อง ไม่ถอยหนี หย่อนก้นลง ไม่หนีบขา
การมีเลือดออกหลังตรวจ
หลังตรวจเรียบร้อยแล้ว ช่วยเหลือผู้ป่วยลงจากเตรียงตรวจก่อนเสมอ
ให้เปลี่ยนเครื่องแต่งกายให้เรียบร้อย ดูแลเก็บของส่วนตัวออกจากห้องตรวจ
แนะนำให้นั่งรอหนาห้องตรวจ เพื่อรับฟังผลการ ตรวจ การรักษา
แนะนำเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องสังเกตและระวังหลังการตรวจ
เน้นย้ำการมาตรวจตามนัด และการฟังผลการตรวจตามวันและเวลาทีนัดหมาย
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัด
การประเมินผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด : -การซักประวัติ
-การตรจร่างกาย : physical exam, PV
-การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การให้คำแนะนำก่อนการผ่าตัด
-ให้ข้อมูลผู้ป่วยและญาติทราบก่อนผ่าตัด
-การผ่าตัดที่จะได้รับ : ผ่าตัดอวัยวะใด และส่งผลต่อการดำเนินชีวิตอย่างไร
-ผลที่คาดว่าจะได้รับหลังการผ่าตัด
-แนวทางการรักษาด้วยวิธีอื่น
การพยาบาลหลังการผ่าตัด
-ดูแลเหมือนผู้ป่วยทั่วไปที่ได้รับการผ่าตัด
-เฝ้าระวัง Internal bleeding
-การผ่าตัดทางช่องคลอดมักเกิดปัญหาปัสสาวะคั่งค้าง
ให้คำแนะนำก่อนจำหน่าย
-การรักษาความสะอาดร่างกายและอวัยวะสืบพันธ์ุ
-การดแลแผล การตัดไหม
-การบริหารร่างกายและการออกก าลังกาย การบริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน Kegel exercise
การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกที่ได้รับรังษีรักษา
รังษีรักษาในผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก
เป็นวิธีการหลักในการรักษามะเร็งปากมดลูก : การฉายรังสี และสอดใส่แร่
Iridium
แร่ Iridium เป็นแท่งกลม ๆ เล็ก ๆ ควบคุมการเคลื่อนที่ด้วยระบบคอมพิวเตอร์
สามารถวางแผนการรักษาล่วงหน้าแบบ 3D ทำให้ได้รับการรักษาที่ถูกต้องแม่นยำ
เป็นการรักษาด้วยรังสีระยะใกล้ เนื้องอก/ก้อนมะเร็งบริเวณที่อยู่ใกล้ต้นกำเนิดรังสี
ได้รับปริมาณรังสีสูง ในขณะที่เนื้อเยื่อปกติได้รับปริมาณรังสีน้อย
ใช้ระยะเวลาการรักษาไม่นาน
ภายหลังการรักษาแต่ละครั้งเม็ดแร่จะถูกนำออกจากตัวผู้ป่วย และไม่มีรังสีตกค้าง
หากรักษาร่วมกับการฉายรังสี ให้หยุดการฉายรังสีในวันที่สอดใส่แร่ 1 วัน
การเตรียมตัวก่อนสอดใส่แร่
เช้าก่อนมาใส่แร่ ควรรับประทานอาหารอ่อน เช่น โจ๊ก ข้าวต้ม
นำอุปกรณ์และยาที่แพทย์สั่ง ผ้าอนามัย 1-2ชิ้นมาโรงพยาบาล
การให้คำแนะนำในการดูแลตนเองหลังสอดใส่แร่Iridium
หลังถอดเครื่องมือออกแล้วอาจมีเลือดออกได้บ้าง ควรใส่ผ้าอนามัยไว้ก่อน และควรนั่งพักจนกว่าจะหาย
รับประทานอาหารที่สุก สะอาด มีคุณค่าครบทั้ง 5 หมู่
ดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อยวันละ 8แก้ว
รักษาความสะอาดของร่างกาย ทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธ์ด้วยสบู่อ่อนๆ และน้ำสะอาด ใช้ผ้านุ่ม ๆ ซับให้แห้ง งดอาบน้ำ
หรือแช่ในแม่น้ำลำคลอง น้ำตกและน้ำขังต่างๆ
งดมีเพศสัมพันธ์ระหว่างการรักษา เพื่อป้องกันการอักเสบปากมดลูก
บริหารข้อสะโพกทุกวัน เพื่อป้องกันข้อสะโพกยึดติด
สังเกตอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นหลังสอดใส่แร่ เช่น มีเลือดออกมาก
มารับการสอดใส่แร่ครบตามแผนการรักษา ถ้ามีปัญหาควรแจ้งเจ้าหน้าที่เพื่อเลื่อนนัดสอดใส่แร่หรือปรึกษาแพทย์ ไม่ควรหยุดไปเอง
เพราะจะไม่เป็นผลดีต่อการรักษา
การปฏิบัติตัวภายหลังการรักษาครบ
รับประทานอาหารที่สุก สะอาด มีคุณค่าครบทั้ง 5 หมู่ ควรงดอาหารรสเผ็ด
ดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อยวันละ 8แก้ว
รักษาความสะอาดของร่างกาย ทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธ์ด้วยสบู่อ่อนๆ และน้ำสะอาด ใช้ผ้านุ่ม ๆ ซับให้แห้ง
การเหน็บยาช่องคลอด ให้เหน็บยาก่อนนอน เริ่มเหน็บยาหลังการสอดใส่แร่ครบ 1 วัน
สามารถมีเพศสัมพันธ์ได้หลังการรักษาครบ 3 เดือน
ในผู้ป่วยที่ไม่มีเพศสัมพันธ์ ควรขยายช่องคลอดโดยใช้นิ้วมือที่ตัดเล็บสั้นและล้างมือให้สะอาด สอดนิ้วชี้และนิ้วกลางเข้าช่องคลอด
แยกนิ้วทั้งสองเข้า-ออกจากกัน 10 ครั้ง
บริหารข้อสะโพกทุกวัน เพื่อป้องกันการยึดติด
ใช้โลชั่นทานวดผิวบริเวณท้องน้อยและก้นอย่างสม ่าเสมอ