Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษาและเคมีบำบัด - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษาและเคมีบำบัด
รังสีรักษา
การนำรังสีมาใช้รักษาโรค ได้แก่ โรคมะเร็ง และโรคอื่นๆ เช่น โรคเนื้องอก แผลเป็นคีลอยด์ ซึ่งรังสีที่ใช้ในการรักษาโรค ได้แก่ รังสีประเภทไอออนไนเซซัน (ionization) ซึ่งเป็นรังสีประเภทเดียวกับรังสีที่ใช้ถ่ายภาพเอกซเรย์ แต่มีพลังงานสูงกว่าและใช้ในจำนวน ขนาด และปริมาณรังสีที่สูงกว่าที่ใช้ในการตรวจโรค
รังสีรักษามีอยู่ 2 รูปแบบ ได้แก่
การฉายรังสีระยะไกล (teletherapy) เป็นการรักษาด้วยรังสีที่ได้จากเครื่องกำเนิดรังสีที่อยู่ห่างจากตัวผู้ป่วย
การให้รังสีระยะใกล้ (brachytherapy) หรือที่เรียกกันว่าการฝังแร่ หรือใส่แร่ เป็นการนำสารกัมมันตรังสีซึ่งห่อหุ้มมิดชิดใส่เข้าไปภายในตัวผู้ป่วยหรือวางชิดกับบริเวณที่ต้องการจะรักษา
Radiotherapy side effects
ผิวหนังบริเวณฉายแสงแดง คล้ำ แห้ง เป็นขุย หรืออาจมีอาการคัน
อาการอ่อนเพลีย
เบื่ออาหาร
ความต้านทานโรคต่ำ ซีด เลือดออกง่าย
ปากแห้ง น้ำลายเหนียวข้น
เจ็บคอ เยื่อบุภายในช่องปากอักเสบ
ช่องปากแคบและอ้าปากได้น้อยลง
เคมีบำบัด
สารเคมีหลายชนิดที่ออกฤทธิ์ ต้านหรือทำลายเซลล์มะเร็ง โดยมีเป้าหมายสำคัญคือเซลล์มะเร็งที่แบ่งตัวเร็ว และต่อเนื่อง ยาเคมีบำบัดจะออกฤทธิ์ยับยั้งการแบ่งตัวของเซลล์มะเร็ง หลายรูปแบบ ทำให้เซลล์ไม่สามารถแบ่งตัวต่อไปและตายในที่สุด
Chemotherapy side effects
อาการไข้
คลื่นไส้ อาเจียน
ท้องผูก
ฝ่ามือฝ่าเท้ามีสีแดงหรือดำคล้ำและเจ็บ
โลหิตจาง
เจ็บปากและคอ
ผมร่วง
ชาตามปลายมือปลายเท้า
จุดเลือดหรือจ้ำเลือด
ท้องเสีย
การพยาบาลก่อนการรักษา
ประเมินการรับรู้ข้อมูลของผู้ป่วยและครอบครัว เช่น
การรักษา
ชนิด/ระยะโรค
แผนการรักษาที่ได้รับและผลข้างเคียง
ความเชื่อ
ประเมินด้านจิตใจ
ประเมินด้านร่างกาย เช่น
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
ผลทางห้องปฏิบัติการ
การพยาบาลระหว่างรับการรักษา
การเฝ้าระวังภาวะฉุกเฉินจากการได้รับยาเคมีบำบัด เช่น
Allergic Reaction
Extravasation
ติดตามผลข้างเคียงที่เกิดขึ้น เช่น
ซีด/อ่อนเพลีย
เม็ดเลือดขาวต่ำ
ผมร่วง
เยื่อบุช่องปากอักเสบ
ผิวแห้งหรือเกิดแผลไฟไหม้จากการรับรังสี
การพยาบาลหลังการรักษา
ดูแลต่อเนื่องอย่างน้อย 3-6 week
การรับประทานอาหาร
เฝ้าระวังการติดเชื้อ
การรับประทานยา
ดูแลช่องปากให้สะอาด
การขับถ่าย