Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษาและเคมีบําบัด - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษาและเคมีบําบัด
เป้าหมายของการรักษา
Control รักษาในมะเร็งในสเตท 1-2
เพื่อควบคุมไม่ให้เซลล์มะเร็งแพร่กระจายไปบริเวณอื่น
Palliative การรักษาแบบประคับประคอง
ในผู้ป่วยที่เซลล์มะเร็งกระจายไปยังอวัยวะอื่นแล้ว
เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดจากก้อนมะเร็ง
Curative การรักษาเพื่อรักษาโรคให้หายไป
รังสีรักษาและเคมีบําบัด
รังสีรักษาเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีพลังงานสูง
จนเกิดการแตกตัวเป็นไอออนไปทําลาย
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์มะเร็ง
เคมีบําบัด การใช้สารเคมีออกฤทธิ์ทำลายเซลล์มะเร็ง
อาการข้างเคียงของเคมีบําบัด
ชาปลายมือ ปลายเท้า
น้ำหนักลด
ภาวะเจริญพันธุ์
มีการอักเสบในเยื่อบุช่องปาก
ผมร่วง
คลื่นไส้อาเจียน
ซีด
แดงตามผ่ามือผ่าเท้า
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษาและเคมีบําบัด
การพยาบาลขณะได้รับการรักษา
ดูแลตามผลข้างเคียงที่เกิดขึ้น
ผมร่วง
ดูแลความสะอาดผิวหนัง,
งดการใช้สารเคมีดัด/ย้อม
เยื่อบุช่องปากอักเสบ
ดูแลรับประทานอาหารอ่อน, Oral care
เม็ดเลือดขาวต่ำ
ป้องกันการติดเชื้อ
N/V
Oral care, ดูแลให้ได้รับสารอาหารและน้ำให้เพียงพอ
ซีด/อ่อนเพลีย
ดูแลรับประทานอาหารที่เสริมสร้างเม็ดเลือด
ผิวแห้งหรือเกิดแผลไหม้จากการรับรังสี
ดูแลผิวหนังให้แห้งสะอาด ไม่อับชื้น,
งดการแกะเกา, ดูแลทาผิวหนังให้ชุ่มชื้นด้วย MEBO cream
การเฝ้าระวังภาวะฉุกเฉินจากการรับยาเคมีบําบัด
Allergic Reaction ภาวะภูมิไวเกิน
Extravasation ภาวะที่ยารั่วออกนอกเส้นเลือด
และทําปฏิกิริยาต่อเนื้อเยื่อบริเวณโดยรอบ (ปวด บวม แดง ร้อน)
การพยาบาลก่อนได้รับการรักษา
ประเมินด้านจิตใจ
ประเมินด้านร่างกาย
ประเมินการรับรู้ข้อมูลของผู้ป่วยและครอบครัว
การพยาบาลหลังได้รับการรักษา
การรับประทานยา
การดูแลช่องปาก
เฝ้าระวังการติดเชื้อ
การดูแลการขับถ่ายปัสสาวะ/อุจจาระ
การรับประทานอาหาร
การคุมกำเนิด
ผลข้างเคียงของรังสีรักษา
น้ำหนักลด
การกดไขกระดูก
ผมร่วง
เสมหะเหนียวข้น
การตีบแคบทางเดินน้ำเหลือง
เกิดการไหม้หรือพุพองบริเวณผิวหนัง