Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยทางนรีเวช - Coggle Diagram
การปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยทางนรีเวช
สูติ-นรีเวชกรรม
สูติกรรม
ก่อนสมรส ก่อนตั้งครรภ์ มีบุตรยาก ตั้งครรภ์
คลอด หลังคลอด
นรีเวชกรรม
เด็ก วัยรุ่น วัยเจริญพันธุ์ วัยหมดระดู
นรีเวชกรรม
การซักประวัติทางนรีเวช
อาการสำคัญที่นำมาโรงพยาบาลในครั้งนี้ ร่วมกับระยะเวลาที่เริ่มมีอาการ
ความผิดปกติของประจำเดือน
Hypermenorrhea : ประจำเดือนมามาก และ มีลิ่มเลือด
Menorrhagia : ประจำเดือนมามาก มานานกว่า 7 วัน หรือระยะห่าง
ของรอบเดือนน้อยกว่า 21 วัน
อาการเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด:
มีเลือดออกหลังการมีเพศสัมพันธุ์ (postcoital bleeding)
มีเลือดออกหลังวัยหมดระดู (postmenopausal
bleeding)
อาการที่เกิดขึ้นตั้งแต่เริ่มเจ็บป่วยจนกระทั่งนำมาสู่การมาโรงพยาบาล
ครั้งนี้ มีความสัมพันธ์กับอาการสำคัญ เรียงลำดับอาการก่อนหลัง
ประวัติการเจ็บป่วยครั้งก่อนๆ ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงก่อนการเจ็บป่วยครั้งน
ภาวะสุขภาพและการเจ็บป่ วยของบุคคลในครอบครัว ครอบคลุม 3 generation
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอด
ประวัติทางจิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
การเตรียมผู้ป่วยตรวจวินิฉัยโรคทางนรีเวช
การเตรียมด้านจิตใจ
-อับอาย กลัว วิตกกังวล
การเตรียมด้านสังคมและจิตวิญญาณ
-ผู้ให้การสนับสนุนทางสังคม
-ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล
การเตรียมด้านร่างกายก่อนการตรวจ PV
-แจ้งให้ทราบ ควรมารับการตรวจขณะไม่มีประจำเดือน ยกเว้นหากมีประจำเดือนออกมานานหรือมีความผิดปกติ ให้รีบมาตรวจวินิจฉัยโดยเร็ว
งดการสวนล้างช่องคลอด งดการสอดยาทางช่องคลอดภายใน 24 ชั่วโมงก่อนตรวจ
ไม่ควรมี SI ก่อนตรวจอย่างน้อย 1-3 วัน
ให้ปัสสาวะก่อนตรวจ
จัดท่าให้เหมาะสมกับการตรวจ ปิดตาผู้ป่วย เปิดเฉพาะบริเวณที่ต้องการตรวจ จัดสิ่งแวดล้อมให้มิดชิด
การตรวจอวัยวัยวะสืบพันธ์ุของสตรี
Digital examination
Speculum
examination
Bimanual examination
4.Rectovaginal
examination
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจอวัยวะสืบพันธ์ุภายของสตรี
ภายหลังพบแพทย์
แนะนำเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องสังเกตและระวังหลังการตรวจ
เปิดโอกาสให้ซักถาม
เน้นยำ้การมาตรวจตามนัด และการฟังผลการตรวจตามวันและเวลาที่นัดหมาย
การพยาบาลที่ได้รับการผ่าตัดทางนรีเวช
ประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
การซักประวัติ
การตรจร่างกาย : physical exam, PV
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การให้คำแนะนำก่อนผ่าตัด
ให้ข้อมูลผู้ป่วยและญาติทราบก่อนผ่าตัด
โรค ระยะเวลา และการดำเนินของโรค
การผ่าตัดที่จะได้รับ : ผ่าตัดอวัยวะใด และส่งผลต่อการดำเนินชีวิตอย่างไร
ผลที่คาดว่าจะได้รับหลังการผ่าตัด
การไม่มีประจำเดือน ไม่สามารถมีบุตร การขาดฮอร์โมนเพศ
ข้อดี ข้อเสีย ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากการผ่าตัด
การตกเลือดระหว่างหรือหลังผ่าตัด การติดเชื้อหลังผ่าตัด อวัยวะใกล้เคียงได้รับบาดเจ็บจากการผ่าตัด การค้างของนำ้ปัสสาวะ
การเตรียมร่างกายทั่วไป
การเตรียมด้านจิตใจ
สร้างสัมพันธภาพ พูดด้วยท่าทีเป็นมิตร ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการผ่าตัด แนะนำให้ผ่อนคลาย สร้างความมั่นใจในการดูแลพยาบาล
การพยาบาลหลังการผ่าตัด
ดูแลเหมือนผู้ป่วยทั่วไปที่ได้รับการผ่าตัด
เฝ้าระวัง Internal bleeding
การผ่าตัดทางช่องคลอดมักเกิดปัญหาปัสสาวะคั่งค้าง
สอนการสวนปัสสาวะด้วยตนเอง
ให้คำแนะนำก่อนจำหน่าย
การรักษาความสะอาดร่างกายและอวัยวะสิบพันธ์
การดแลแผล การตัดไหม
การพักผ่อน
การรับประทานอาหาร และยา
การบริหารร่างกายและการออกกำลังกาย การบริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน Kegel exercise
การงดมี SI 6 สัปดาห์หลังผ่าตัด หรือก่อนมาตรวจตามนัด
อาการที่ต้องมาพบแพทย์ก่อนวัดนัด : ไข้สูง ปวดท้องน้อย แผลบวมอักเสบ มีหนองหรือเลือดที่แผล หรือทางช่องคลอด
การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกที่ได้รับรังสีรักษา
รังสีรักษาในผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก
เป็นวิธีการหลักในการรักษามะเร็งปากมดลูก : การฉายรังสี และสอดใส่แร่
Iridium
แร่ Iridium เป็นแท่งกลม ๆ เล็ก ๆ ควบคุมการเคลื่อนที่ด้วยระบบคอมพิวเตอร์
สามารถวางแผนการรักษาล่วงหน้าแบบ 3D ทำให้ได้รับการรักษาที่ถูกต้องแม่นยำ
เป็นการรักษาด้วยรังสีระยะใกล้ เนื้องอก
ใช้ระยะเวลาการรักษาไม่นาน
ภายหลังการรักษาแต่ละครั้งเม็ดแร่จะถูกนำออกจากตัวผู้ป่วย และไม่มีรังสีตกค้าง
หากรักษาร่วมกับการฉายรังสี ให้หยุดการฉายรังสีในวันที่สอดใส่แร่ 1 วัน
เช้าก่อนมาใส่แร่ ควรรับประทานอาหารอ่อน เช่น โจ๊ก ข้าวต้ม
นำอุปกรณ์และยาที่แพทย์สั่ง ผ้าอนามัย 1-2ชิ้นมาโรงพยาบาล
การให้คำแนะนำในการดูะแลตนเองหลังสอดใส่iridium
หลังถอดเครื่องมือออกแล้วอาจมีเลือดออกได้บ้าง ควรใส่ผ้าอนามัยไว้ก่อน และควรนั่งพักจนกว่าจะหายอาการมึนงงจากฤทธิ์ยา
รับประทานอาหารที่สุก สะอาด มีคุณค่าครบทั้ง 5 หมู่ ควรงดอาหารรสเผ็ด หรืออาหารที่ทำให้ท้องเสีย
ดื่มนำ้สะอาดอย่างน้อยวันละ 8แก้ว
งดอาบนำ้หรือแช่ในแม่นำ้ลำคลอง นำ้ตกและนำ้ขังต่างๆ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
งดมีเพศสัมพันธ์ระหว่างการรักษา เพื่อป้องกันการอักเสบปากมดลูก
บริหารข้อสะโพกทุกวัน เพื่อป้องกันข้อสะโพกยึดติด
สังเกตอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นหลังสอดใส่แร่ เช่น มีเลือดออกมาก หรือ ปวดท้องมาก
มารับการสอดใส่แร่ครบตามแผนการรักษา ถ้ามีปัญหาควรแจ้งเจ้าหน้าที่เพื่อเลื่อนนัดสอดใส่แร่หรือปรึกษาแพทย์
การปฏิบัติตัวภายหลังการรักษาครบ
รับประทานอาหารที่สุก สะอาด มีคุณค่าครบทั้ง 5 หม
รักษาความสะอาดของร่างกาย ทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธ์ด้วยสบู่อ่อนๆ
การเหน็บยาช่องคลอด ให้เหน็บยาก่อนนอน เริ่มเหน็บยาหลังการสอดใส่แร่ครบ 1 วัน
สามารถมีเพศสัมพันธ์ได้หลังการรักษาครบ 3 เดือน
ในผู้ป่วยที่ไม่มีเพศสัมพันธ์ ควรขยายช่องคลอดโดยใช้นิ้วมือที่ตัดเล็บสั้นและล้างมือให้สะอาด สอดนิ้วชี้และนิ้วกลางเข้าช่องคลอดแยกนิ้วทั้งสองเข้า-ออกจากกัน 10 ครั้ง ท าขณะอาบนำ้วันละ 1 ครั้ง เพื่อป้องกันช่องคลอดตีบตัน เริ่มขยายช่องคลอดภายหลังใส่แร่ครบ 1เดือน
บริหารข้อสะโพกทุกวัน เพื่อป้องกันการยึดติด
ใช้โลชั่นทานวดผิวบริเวณท้องน้อยและก้นอย่างสมำ่เสมอ