Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่รับรังสีรักษาและเคมีบำบัด, image - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยที่รับรังสีรักษาและเคมีบำบัด
ยาเคมีบำบัด หมายถึง สารเคมีที่ออกฤทธิ์ต้านหรือทําลายเซลล์มะเร็ง
รังสีรักษา หมายถึง การใช้รังสีซึ่งเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีพลังงานสูงจนเกิดการแตกตัวเป็นไอออนไปทำลายโครงสร้างและหน้าที่ชของเซลล์มะเร็ง
การรักษาแบบผสมผสาน
(Combined-modality therapy)
การดูแลก่อนรับการรักษา
ประเมินการรับรู้ข้อมูลของผู้ป่วยและครอบครัว
ประวัติการรักษา
ชนิด/ระยะของโรค
แผนการรักษาที่ได้รับและผลข้างเคียง
ทัศนคติ/ความเชื่อ/ความคาดหวังในการรักษา
การเตรียมความพร้อมเข้าสู่กระบวนการรักษา
ประเมินด้านจิตใจ
ความเครียด/วิตกกังวล
ครอบครัวและฐานะทางเศรษฐกิจ
ประเมินด้านร่างกาย
ซักประวัติ : โรคประจำตัว, ประวัติการรักษา/ให้ยาครั้งก่อน, ประจำเดือน
ตรวจร่างกาย : น้ำหนัก, ส่วนสูง, bmi, v/s
ผลตรวจทางห้องปฎิบัติการ : Cbc, bun, Cr, electrolyte, lft, film x-ray, mri
การดูแลระหว่างการรักษา
Extravasation : ภาวะที่ยารั่วออกนอกเส้นเลือดและทำปฏิกิริยาต่อเนื้อเยื่อบริเวณโดยรอบ (ปวด บวม แดง ร้อน)
Warning!!!
หากมีภาวะ Extravasation เกิดขึ้นให้ประคบเย็นหรืออุ่น ตามชนิดของยาเคมีบำบัดที่ผู้ป่วยได้รับ
ถ้าไม่แน่ใจ “ไม่ต้องประคบ” ให้รักษาความสะอาดและระวังเรื่องการติดเชื้อ
ดูแลตามผลข้างเคียงที่เกิดขึ้น
ดูแลตามผลข้างเคียงที่เกิดขึ้น
เม็ดเลือดขาวต่ำ
ผมร่วง
เยื่อบุช่องปากอักเสบ
ผิวแห้งหรือเกิดแผลไหม้จากการรับรังสี
การดูแลหลังการรักษา
โดยดูแลต่อเนื่องอย่างน้อย 3-6 สัปดาห์ หลังรับการรักษาครั้งสุดท้าย
การรับประทานอาหาร
การเฝ้าระวังการติดเชื้อ
การรับประทานยา
การดูแลช่องปาก
การดูแลการขับถ่ายปัสสาวะ/อุจจาระ
การคุมกำเนิด