Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยทางนรีเวช - Coggle Diagram
ปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยทางนรีเวช
ความผิดปกติทางนรีเวชที่พบบ่อยในสตรีเด็กวัยรุ่น
Imperforate hymen
Anovulatory Dysfunctional Uterine Bleeding: AnovulatoryDUB
Primary dysmenorrhea
Sexually Transmitted Disease: STDs
Primary amenorrhea
Pelvic Inflammatory Disease: PID
Germ cell tumor
Ectopic pregnancy
ความผิดปกติทางนรีเวชที่พบบ่อยในสตรีวัยเจริญพันธ์
Ectopic pregnancy
Benign ovarian tumor
Pelvic Inflammatory Disease: PID
Myoma Uteri
Sexually Transmitted Disease: STDs
Endometriosis
Ovulatory DUB
Cervical cancer
Ovarian Cancer
ความผิดปกติทางนรีเวชที่พบบ่อยในสตรีวัยหมดระดู
Ovarian cancer
Endometrial cancer
Cervical cancer
Valvar cancer
Uterine prolapse
การซักประวัติทางนรีเวช
Chief Complaintาการสำคัญที่น ามาโรงพยาบาลในครั้งนี้ ร่วมกับระยะเวลาที่เริ่มมีอาการ
มีไข้สูง ปวดท้องน้อยมา 2 วันก่อนมาโรงพยาบาล
ตกขาวมากมีกลิ่นเหม็น และคันช่องคลอด 3 วันก่อนมาโรงพยาบาล
ปวดท้องน้อยมากและเป็นลมหมดสติ ประมาณ 1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
Personal information
อาชีพ
รายได้
ระดับการศึกษา
ลักษณะครอบครัว
ศาสนา
ฐานะเศรษฐกิจ
สถานภาพสมรส
สิทธิในการรักษา
อายุ
Present illnessอาการที่เกิดขึ้นตั้งแต่เริ่มเจ็บป่วยจนกระทั่งนำมาสู่การมาโรงพยาบาลครั้งนี้
อาการเป็นอยู่ตลอดเวลาหรือไม่
อาการนั้นบรรเทาได้อย่างไร
ลักษณะอาการ
เมื่อเกิดขึ้นแล้ว มีผลต่อการด าเนินชีวิตประจ าวันหรือไม่ อย่างไร
ระยะเวลาที่เริ่มเกิด ความรุนแรง
Past illness
โรคประจำตัว ประวัติการแพ้ยา แพ้สารเคมี
การใช้ยาประจำ (อดีต + ปัจจุบัน)
การเจ็บป่วยทั่วไป การผ่าตัด การรักษาตัวในโรงพยาบาล อุบัติเหตุ
Family history
โรคถ่ายทอดทางพันธุกรรม : DM, thalassemia, TB, CA, โรคทางจิตเวช
ภาวะสุขภาพและการเจ็บป่วยของบุคคลในครอบครัว ครอบคลุม 3 generation
Menstrual history
เช่น ผู้ป่วยเริ่มมีประจ าเดือนครั้งแรกเมื่ออายุ 12 ปี ประจ าเดือนมานาน 4-5 วันต่อรอบ สม ่าเสมอดีทุก 28-30 วัน ใช้ผ้าอนามัย 3 ผืนต่อวัน ไม่ชุ่ม มีปวดท้องน้อยเป็นยางคร้ง ไม่ได้รับประทานยาแก้ปวด LMP วันที่ 12พฤศจิกายน 2564
Sexuality History
Privacy & Trust การใช้ค าถาม”มีเพื่อนชาย (แฟน) หรือยัง ถ้ามี เคยมีอะไรมาก่อนหรือไม่”
ถามรายละเอียดเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์
ประวัติทางจิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
อารมณ์ความรู้สึก
การสนับสนุนทางสังคม
ความเชื่อที่มีต่อการเจ็บป่วยครั้งนี้
จากพื้นฐานความเชื่อ ผู้ป่วยปฏิบัติอย่างไรเมื่อเจ็บป่วยครั้งนี้
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอด
จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์ การแท้ง วิธีการคลอดและการแท้ง น้ำหนักทารกแรกเกิด ภาวะแทรกซ้อนจากการคลอดและการแท้ง การขูดมดลูก สุขภาพทั่วไปของมารดาและบุตรหลังคลอด
ประวัติการคุมกำเนิด
วิธีที่เคยใช้ในการคุมกำเนิด (เรียงล าดับก่อนหลัง)
ระยะเวลาที่ใช้ของแต่ละวิธี
เคยคุมกำเนิดหรือไม่
อาการข้างเคียง
ประวัติความผิดปกติตามระบบ
ผิวหนัง
ศีรษะ ใบหน้า ลำคอ
ทรวงอก และทางเดินหายใจ เต้านม
หัวใจและหลอดเลือด
หน้าท้อง และทางเดินอาหาร
ระบบประสาท กล้ามเนื้อ และกระดูก
ทางเดินปัสสาวะ และอวัยวะสืบพันธุ์
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อตรวจวินิจฉัยโรคทางนรีเวช
การเตรียมด้านร่างกายก่อนการตรวจ PV
งดการสวนล้างช่องคลอด งดการสอดยาทางช่องคลอดภายใน 24 ชั่วโมงก่อนตรวจ
ไม่ควรมี SI ก่อนตรวจอย่างน้อย 1-3 วัน
แจ้งให้ทราบ ควรมารับการตรวจขณะไม่มีประจำเดือน ยกเว้นหากมีประจำเดือนออกมานานหรือมีความผิดปกติ ให้รีบมาตรวจวินิจฉัยโดยเร็ว
ให้ปัสสาวะก่อนตรวจ
จัดท่าให้เหมาะสมกับการตรวจ ปิดตาผู้ป่วย
Dorsal recumbent position
Knee-Chest position
Lithotomy Position
เครื่องมือที่ใช้สำหรับการตรวจทางภายใน
Sterile cotton ball
Sterile groves
Long uterine packing forceps
อ่างส าหรับใส่ sterile water หรือ NSS
Bivalve vaginal speculum
K-Y jelly
การเตรียมด้านสังคมและจิตวิญญาณ
ผลกระทบจากการเจ็บป่วยต่อบทบาททางสังคม หน้าที่การงาน บทบาทในครอบครัว
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินและสนับสุนการเตรียมความพร้อมในเรื่องของความเชื่อทางจิตวิญญาณ
ประเมินและสนับสนุนSocial support, care giver
ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล
ผู้ให้การสนับสนุนทางสังคม
การเตรียมด้านจิตใจ
อับอาย กลัว วิตกกังวล
กิจกรรมการพยาบาล
ขณะตรวจ
อยู่เป็นเพื่อน ให้การสัมผัสที่นุ่มนวล ปลอบโยนให้กำลังใจแสดงออกด้วยท่าทีที่เป็นมิตร
หลังตรวจ
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังตรวจ การสังเกตอาการข้างเคียง อาการที่ต้องมาพบแพทย์ก่อนวันนัด การส่งตรวจเพื่อวินิจฉัยขั้นต่อไป
เคารพการตัดสินใจ เพื่อรับการตรวจวินิจฉัยโรค
ก่อนตรวจ
ให้คำแนะนำเบื้องต้นขั้นตอนในการตรวจ ข้อดีในการตรวจ และข้อเสียหากไม่ปฏิบัติตาม
ชี้แจงวัตถุประสงค์และความจำเป็นในการตรวจ
การตรวจอวัยวะสืบพันธ์ภายในของสตรี
Bimanual examination
Rectovaginal examination
Speculum examination
ใช้speculum สอดเข้าในภายในช่องคลอด และถ่างขยายช่องคลอด เพื่อตรวจความผิดปกติของเยื่อบุช่องคลอด รอยย่น สีผนังกั้นช่องคลอด ปากมดลูก มูกสารคัดหลั่งในช่องคลอด การอักเสบ แผลต่างๆ
Digital examination
ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้คล าบริเวณส่วนล่างของ labia majora
บริเวณปากช่องคลอด ตำแหน่ง 4 และ 8 นาฬิกาเพื่อคลาbatholin’sgland
การตรวจ Papanicolaou smear
ข้อบ่งชี้
การเตรียมเครื่องมือ
แผ่น slide คลิปหนีบกระดาษ และดินสอ
ไม้ pap smear
น ้ายารักษาสภาพเซลล์ (Fixing solution): 95% ethyl alcohol
เป็นการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกระยะแรก ตรวจง่าย ราคาถูก แม่นย าสูงร้อยละ 90
การพยาบาลสตรีที่ได้รับการผ่าตัดทางนรีเวช
การให้คำแนะนาก่อนการผ่าตัด
การผ่าตัดที่จะได้รับ : ผ่าตัดอวัยวะใด และส่งผลต่อการดำเนินชีวิตอย่างไร
ผลที่คาดว่าจะได้รับหลังการผ่าตัด
โรคระยะเวลาและการดำเนินของโรค
ข้อดี ข้อเสีย ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากการผ่าตัด
ให้ข้อมูลผู้ป่วยและญาติทราบก่อนผ่าตัด
สภาพทั่วไปหลังการผ่าตัด
การเตรียมร่างกายทั่วไป
การให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวก่อนและหลังการผ่าตัด
early ambulationการประคองแผลผ่าตัด การพลิกตัวตะแคง การลุกนั่งหลังผ่าตัด
Dietary plan
การหายใจและการไออย่างมีประสิทธิภาพ
การเตรียมด้านจิตใจ
สร้างสัมพันธภาพ พูดด้วยท่าทีเป็นมิตร ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการผ่าตัด แนะนำให้ผ่อนคลาย สร้างความมั่นใจในการดูแลพยาบาล
การประเมินผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด
การตรจร่างกาย : physical exam, PV
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ECG
Clotting factor: PT, PTT, clotting time
CXR
U/A
การตรวจสารเคมีในเลือด: HCG, Na+, K+, Cl, HCO3, FBS (for DM)
LFT
Kidney function: BUN, Cr, electrolyte
CBC: Hb, hct, WBC, plt.
Specific: UPT, pap smear
การถ่ายภาพทางเดินปัสสาวะ (Intravenousepyelography: IVP)
U/S, CT scan, MRI
การซักประวัติ
การพยาบาลสตรีที่ได้รับการผ่าตัดทางนรีเวช
วันผ่าตัด
ตรวจป้ายชื่อ-สกุลของผู้ป่วยให้ถูกต้อง
เปลี่ยนเสื้อผ้าเป็นชุดผ่าตัด
Premedication
บันทึก I&O, Urine
Retained foley catheter with urine bag
ให้ถอดฟันปลอม ของมีค่า อุปกรณ์หรือเครื่องประดับที่เป็นโลหะ
ON IV fluid
ตรวจสอบใบเซ็นต์ยินยอมการผ่าตัด
V/S ก่อนไป OR
เตรียมเตียงเพื่อรับผู้ป่วยกลับจาก OR
การพยาบาลหลังการผ่าตัด
สอนการสวนปัสสาวะด้วยตนเอง
ให้คำแนะนำก่อนจำหน่าย
เฝ้าระวัง Internal bleeding
ดูแลเหมือนผู้ป่วยทั่วไปที่ได้รับการผ่าตัด
การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกที่ได้รับรังสีรักษา
การเตรียมตัวก่อนสอดใส่แร่
เช้าก่อนมาใส่แร่ ควรรับประทานอาหารอ่อน เช่น โจ๊ก ข้าวต้ม
นำอุปกรณ์และยาที่แพทย์สั่ง ผ้าอนามัย 1-2ชิ้นมาโรงพยาบาล
ขั้นตอนการสอดใส่แร่
ขั้นตอนที่3เอกซ์เรย์ตรวจสอบตำแหน่ง
ใช้เวลาการเอกซเรย์ประมาณ 3-15 นาที
แนะนำให้ผู้ป่วยจะต้องนอนนิ่ง ๆ เพื่อป้องกันเครื่องมือเคลื่อนจากตำแหน่ง
เคลื่อนย้ายผู้ป่วยเข้าห้องเอกซ์เรย์ / CT / MRI เพื่อตรวจสอบตำแหน่งเครื่องมือที่ใส่
ขั้นตอนที่4การคำนวณแผนการรักษา
จัดผ้ารองส้นเท้าให้ผู้ป่วย เพื่อลดอาการปวดเมื่อย
นักฟิสิกส์ทางการแพทย์คำนวณระยะเวลาในการใส่แร่
เคลื่อนย้ายผู้ป่วยเข้าสู่ห้องพักประเมินอาการ
แนะนำให้ผู้ป่วยนอนนิ่ง ๆ เพื่อป้องกันเครื่องมือเคลื่อนจากตำแหน่ง
ขั้นตอนที่2การใส่เครื่องมือ
แพทย์จะทำการตรวจภายในเพื่อดูขนาดของช่องคลอด ขยายปากมดลูก วัดความลึกของโพรงมดลูก จากนั้นสอดใส่เครื่องมือเข้าไปในโพรงมดลูก และปากมดลูกทั้งสองข้าง ใส่ผ้าก๊อซเข้าไปในช่องคลอดจนแน่น
ขณะท าการใส่เครื่องมือ ผู้ป่วยอาจรู้สึกเจ็บ ซึ่งสามารถบรรเทาอาการเจ็บด้วยการหายใจเข้าทางจมูกลึก ๆ แล้วค่อย ๆ ผ่อนลมหายใจออกทางปากอย่างช้า ๆ ไม่ควรยกขา เกร็งก้นหรือขยับก้นหนี เพราะจะทำให้แพทย์จัดเครื่องมือลำบากและเกิดอาการเจ็บมากขึ้น
แพทย์จะใส่สายสวนปัสสาวะคาไว้ และฉีดสารทึบแสงเข้าไปในลูกโป่งของสายสวนปัสสาวะ เพื่อดูตำแหน่งของกระเพาะปัสสาวะ
ให้ผู้ป่วยนอนท่า lithotomy
ขั้นตอนที่6การนำเครื่องมือออกและกลับบ้าน
ผู้ป่วยปัสสาวะ เปลี่ยนเสื้อผ้า
กรณีใส่แร่ครั้งสุดท้าย ผู้ป่วยจะได้รับใบนัดเพื่อพบแพทย์ตรวจครั้งต่อไปจากพยาบาล
พยาบาลประเมินอาการภายหลังนำเครื่องมือออก
เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกจากห้องใส่แร่ เพื่อน าเครื่องมือที่แพทย์ใส่ในโพรงมดลูกและช่องคลอด ผ้าก๊อซ สายสวนปัสสาวะออก
ขั้นตอนที่5 การรักษาด้วยแร่ Iridium
พยาบาลเฝ้าสังเกตอาการทางโทรทัศน์วงจรปิดด้านนอก กระบวนการโหลดแร่จะถูกควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีประสิทธิภาพ ความคงคลาดเคลื่อนของการโหลดแร่จะไม่เกิน 1มิลลิเมตร จากแผนการรักษาที่วางไว้
เมื่อครบการรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์จะนำแร่ออกจากตัวผู้ป่วย
ใช้เวลาในการรักษาประมาณ10-40นาที
ขณะรับการรักษาผู้ป่วยจะไม่รู้สึกเจ็บ แต่ผู้ป่วยควรกลั้นปัสสาวะและนอนนิ่ง ๆ ภายในห้องแร่จนกว่าจะครบเวลารักษา เพื่อป้องกันเครื่องมือเคลื่อนจากตำแหน่ง
ขั้นตอนที่1การเตรียมตัว
ประเมินอาการผู้ป่วย โรคประจำตัว ประวัติการแพ้ พร้อมแนะนำการปฏิบัติตัว
ขั้นตอนการสอดใส่แร่ขั้นตอนที่1การเตรียมตัวต้อนรับ แนะนำสถานที่ให้ผู้ป่วยเปลี่ยนเสื้อผ้าที่จัดเตรียมไว้ให้ประเมินอาการผู้ป่วย โรคประจำตัว ประวัติการแพ้ พร้อมแนะน าการปฏิบัติตัวผู้ป่วยจะได้รับประทานยาแก้ปวดและยาคลายเครียด ซึ่งจะทำให้มีอาการง่วงนอนทั้งวัน
ให้ผู้ป่วยเปลี่ยนเสื้อผ้าที่จัดเตรียมไว้ให้
รังสีรักษาในผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก
สามารถวางแผนการรักษาล่วงหน้าแบบ 3Dทำให้ได้รับการรักษาที่ถูกต้องแม่นยำ
เป็นการรักษาด้วยรังสีระยะใกล้ เนื้องอก/ก้อนมะเร็งบริเวณที่อยู่ใกล้ต้นกำเนิดรังสีได้รับปริมาณรังสีสูง
แร่ Iridiumเป็นแท่งกลม ๆ เล็ก ๆ ควบคุมการเคลื่อนที่ด้วยระบบคอมพิวเตอร์
ใช้ระยะเวลาการรักษาไม่นาน
เป็นวิธีการหลักในการรักษามะเร็งปากมดลูก: การฉายรังสี และสอดใส่แร่Iridium
ภายหลังการรักษาแต่ละครั้งเม็ดแร่จะถูกน าออกจากตัวผู้ป่วย และไม่มีรังสีตกค้าง
หากรักษาร่วมกับการฉายรังสี ให้หยุดการฉายรังสีในวันที่สอดใส่แร่ 1วัน
ไม่ต้องนอนโรงพยาบาล
การให้คาแนะนาในการดูแลตนเองหลังสอดใส่แร่iridium
ดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อยวันละ 8แก้ว
รักษาความสะอาดของร่างกาย ทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธ์ด้วยสบู่อ่อนๆ และน้ำสะอาด ใช้ผ้านุ่ม ๆ ซับให้แห้ง งดอาบน้ำเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
รับประทานอาหารที่สุก สะอาด มีคุณค่าครบทั้ง 5หมู่ ควรงดอาหารรสเผ็ด หรืออาหารที่ทำให้ท้องเสีย
งดมีเพศสัมพันธ์ระหว่างการรักษา เพื่อป้องกันการอักเสบปากมดลูก
หลังถอดเครื่องมือออกแล้วอาจมีเลือดออกได้บ้าง ควรใส่ผ้าอนามัยไว้ก่อน และควรนั่งพักจนกว่าจะหายอาการมึนงงจากฤทธิ์ยา
บริหารข้อสะโพกทุกวัน เพื่อป้องกันข้อสะโพกยึดติด
มารับการสอดใส่แร่ครบตามแผนการรักษา ถ้ามีปัญหาควรแจ้งเจ้าหน้าที่เพื่อเลื่อนนัดสอดใส่แร่หรือปรึกษาแพทย์ ไม่ควรหยุดไปเองเพราะจะไม่เป็นผลดีต่อการรักษา
สังเกตอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นหลังสอดใส่แร่ เช่น มีเลือดออกมาก หรือ ปวดท้องมาก
การปฏิบัติตัวภายหลังการรักษาครบ
การเหน็บยาช่องคลอด ให้เหน็บยาก่อนนอน เริ่มเหน็บยาหลังการสอดใส่แร่ครบ 1วัน
สามารถมีเพศสัมพันธ์ได้หลังการรักษาครบ 3 เดือน ขณะมีเพศสัมพันธ์ควรใส่ถุงยางอนามัยและใช้ K-Y jelly ในการหล่อลื่น
รักษาความสะอาดของร่างกาย ทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธ์ด้วยสบู่อ่อนๆ และน้ำสะอาด ใช้ผ้านุ่ม ๆ ซับให้แห้ง งดอาบน้ำเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ในผู้ป่วยที่ไม่มีเพศสัมพันธ์ ควรขยายช่องคลอดโดยใช้นิ้วมือที่ตัดเล็บสั้นและล้างมือให้สะอาด สอดนิ้วชี้และนิ้วกลางเข้าช่องคลอดแยกนิ้วทั้งสองเข้า-ออกจากกัน 10ครั้ง ทำขณะอาบน้ำวันละ 1ครั้ง เพื่อป้องกันช่องคลอดตีบตัน
ดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อยวันละ 8แก้ว
บริหารข้อสะโพกทุกวัน เพื่อป้องกันการยึดติด
รับประทานอาหารที่สุก สะอาด มีคุณค่าครบทั้ง 5หมู่ ควรงดอาหารรสเผ็ด หรืออาหารที่ทำให้ท้องเสีย
ใช้โลชั่นทานวดผิวบริเวณท้องน้อยและก้นอย่างสม่ำเสมอ