Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยทางนรีเวช - Coggle Diagram
ปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยทางนรีเวช
ความผิดปกติที่พบได้บ่อยทางนรีเวชในแต่ละช่วงวัย :skull_and_crossbones:
ความผิดปกติทางนรีเวชที่พบบ่อยในสตรีเด็กวัยรุ่น
Sexually Transmitted Disease: STDs
Imperforate hymen
Pelvic Inflammatory Disease: PID
Primary dysmenorrhea
Ectopic pregnancy
Primary amenorrhea
Germ cell tumor
ความผิดปกติทางนรีเวชที่พบบ่อยในสตรีวัยเจริญพันธ์
Pelvic Inflammatory Disease: PID
Benign ovarian tumor
Myoma Uteri
Endometriosis
Cervical cancer
Ovarian Cancer
ความผิดปกติทางนรีเวชที่พบบ่อยในสตรีวัยหมดระดู
Abnormal Uterine Bleeding: AUB
Vaginal prolapse
Uterine prolapse
Cervical cancer
Ovarian cancer
การซักประวัติทางนรีเวช :pencil2:
Personal information
Chief Complaint
Hypermenorrhea : ประจำเดือนมามาก และ มีลิ่มเลือด
มีเลือดออกหลังการมีเพศสัมพันธุ์ (postcoital bleeding)
Menorrhagia : ประจำเดือนมามาก มานานกว่า 7 วัน หรือระยะห่างของรอบเดือนน้อยกว่า 21 วัน
มีเลือดออกหลังวัยหมดระดู (postmenopausal bleeding)
Hypomenorrhea : ประจำเดือนมาน้อยกว่าปกติ
Oligomenorrhea : ระยะห่างของรอบประจำเดือนนานมากกว่า 35 วัน
อาการตกขาว คันปากช่องคลอด หรือมีแผลบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
อาการปวด: ท้องน้อย หลัง เอว ปวดร้าว เจ็บปวดขณะมีเพศสัมพันธ์
Present illness
อาการที่เกิดขึ้นตั้งแต่เริ่มเจ็บป่วยจนกระทั่งนำมาสู่การมาโรงพยาบาลครั้งนี้ มีความสัมพันธ์กับอาการสำคัญ เรียงลำดับอาการก่อนหลัง
Past illness
Family history
Menstrual history
ตัวอย่าง
ผู้ป่วยเริ่มมีประจำเดือนครั้งแรกเมื่ออายุ 12 ปี ประจำเดือนมานาน 4-5 วันต่อรอบ สม่ำเสมอดีทุก 28-30 วัน ใช้ผ้าอนามัย 3 ผืนต่อวัน ไม่ชุ่ม มีปวดท้องน้อยเป็นยางคร้ง ไม่ได้รับประทานยาแก้ปวด LMP วันที่ 12พฤศจิกายน 2564
Sexuality History
ตัวอย่าง
ผู้ป่วยมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกเมื่ออายุ 17 ปี สามีคนนี้เป็นคนที่ 2 ไม่เคยมีเพศสัมพันธ์ขณะมีประจ าเดือนการเจ็บป่วยครั้งนี้ไม่มีผลต่อเพศสัมพันธ์ เพราะสามีเข้าใจในการเจ็บป่วยของตนเอง
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอด
ตัวอย่าง
G6 P5 A1 L4 ผู้ป่วยตั้งครรภ์ทั้งหมด 6 ครั้ง เคยผ่านการคลอด 5 ครั้ง แท้ง 1 ครั้ง ไม่เคยขูดมดลูก ปัจจุบันมีบุตรที่มีชีวิตอยู่ 4 คน (บุตรคนที่ 2 เสียชีวิตเมื่ออายุ 4 ปี)
ประวัติการคุมกำเนิด
เคยคุมกำเนิดหรือไม่
วิธีที่เคยใช้ในการคุมกำเนิด (เรียงลำดับก่อนหลัง)
ระยะเวลาที่ใช้ของแต่ละวิธี
อาการข้างเคียง
สาเหตุการเปลี่ยนหรือหยุดวิธีการคุมกำเนิด
ประวัติทางจิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
อารมณ์ความรู้สึก
การสนับสนุนทางสังคม
ความเชื่อที่มีต่อการเจ็บป่วยครั้งนี้
ประวัติความผิดปกติตามระบบ : ซักประวัติ และตรวจร่างกายตามระบบ เพื่อประเมินเช่นเดียวกับผู้ป่วยทั่วไป
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อตรวจวินิจฉัยโรคทางนรีเวช :check:
การเตรียมด้านจิตใจ
อับอาย กลัว วิตกกังวล
การเตรียมด้านสังคมและจิตวิญญาณ
ผู้ให้การสนับสนุนทางสังคม
ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล
ผลกระทบจากการเจ็บป่วยต่อบทบาททางสังคม หน้าที่การงาน บทบาทในครอบครัว
การตรวจอวัยวะสืบพันธ์ภายในของสตรี (Pelvic examination: PV)
การเตรียมด้านร่างกาย
ก่อนการตรวจ PV
แจ้งให้ทราบ ควรมารับการตรวจขณะไม่มีประจำเดือน ยกเว้นหากมีประจำเดือนออกมานานหรือมีความผิดปกติ ให้รีบมาตรวจวินิจฉัยโดยเร็ว
งดการสวนล้างช่องคลอด งดการสอดยาทางช่องคลอดภายใน 24 ชั่วโมงก่อนตรวจ
ไม่ควรมี SI ก่อนตรวจอย่างน้อย 1-3 วัน
ให้ปัสสาวะก่อนตรวจ
จัดท่าให้เหมาะสมกับการตรวจ ปิดตาผู้ป่วย เปิดเฉพาะบริเวณที่ต้องการตรวจ จัดสิ่งแวดล้อมให้มิดชิด
จัดท่า
Lithotomy Position
Dorsal recumbent position
Knee-Chest position
เตรียมอุปกรณ์
Bivalve vaginal speculum
Long uterine packing forceps
Sterile cotton ball
Sterile groves
อ่างสำหรับใส่ sterile water หรือ NSS
K-Y jelly
วิธีการตรวจ
Speculum examination
Bimanual examination
Digital examination
Rectovaginal examination
การตรวจ Papanicolaou smear (Pap smear)
เป็นการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกระยะแรก (screening test)
การเตรียมเครื่องมือ
ไม้ pap smear
น้ำยารักษาสภาพเซลล์ (Fixing solution): 95% ethyl alcohol
แผ่น slide คลิปหนีบกระดาษ และดินสอ
การตรวจ Pap smear
การพยาบาลสตรีที่ได้รับการผ่าตัดทางนรีเวช :fountain_pen:
การเตรียมร่างกายทั่วไป
เช้า
ใบเซ็นต์ยินยอมการผ่าตัด
Blood for G/M& lab
Bowel : : : preparation : Colyte1 ซอง + น้ำ 750 cc (X 2)
บ่าย
Skin preparation: abdomen / vaginal
การทำความสะอาดร่างกาย
เย็น
Vaginal preparation : vaginal douch
Cleansing enema : SSE
พักผ่อนอย่างเพียงพอ
Premedication
Diazepam หรือ Ativan 1tab oral hs.
NPO after midnight
On IV fluid: LRI 1,000 ml IV 120 cc/hr. (บางราย)
สร้างสัมพันธภาพ พูดด้วยท่าทีเป็นมิตร ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการผ่าตัด
ให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวก่อนและหลังการผ่าตัด
การพยาบาลสตรีที่ได้รับการผ่าตัดทางนรีเวช
วันผ่าตัด
ตรวจป้ายชื่อ-สกุลของผู้ป่วยให้ถูกต้อง
ให้ถอดฟันปลอม ของมีค่า อุปกรณ์หรือเครื่องประดับที่เป็นโลหะ
บันทึก I&O, Urine
ตรวจสอบใบเซ็นต์ยินยอมการผ่าตัด
Premedication
Antibiotic : ก่อนไป OR, นำไป
Anti anxiety
V/S ก่อนไป OR
Retained foley catheter with urine bag
เตรียมเตียงเพื่อรับผู้ป่วยกลับจาก OR
ON IV fluid
การพยาบาลหลังการผ่าตัด
เฝ้าระวัง Internal bleeding
สอนการสวนปัสสาวะด้วยตนเอง (Self catheterlize) เนื่องจาก การผ่าตัดทางช่องคลอดมักเกิดปัญหาปัสสาวะคั่งค้าง
การรักษาความสะอาดร่างกายและอวัยวะสิบพันธ์
ให้คำแนะนำก่อนจำหน่าย เช่น การรักษาความสะอาดร่างกายและอวัยวะสิบพันธ์, การดูแลแผล การตัดไหม
การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกที่ได้รับรังสีรักษา :zap:
ขั้นตอนการสอดใส่แร่
ขั้นตอนที่3 เอกซ์เรย์ตรวจสอบตำแหน่ง แนะนำให้ผู้ป่วยจะต้องนอนนิ่ง ๆ เพื่อป้องกันเครื่องมือเคลื่อนจากตำแหน่ง
ขั้นตอนที่4 การคำนวณแผนการรักษา นักฟิสิกส์ทางการแพทย์คำนวณระยะเวลาในการใส่แร่
ขั้นตอนที่2 การใส่เครื่องมือ
แพทย์จะทำการตรวจภายในเพื่อดูขนาดของช่องคลอด ขยายปากมดลูก วัดความลึกของโพรงมดลูก จากนั้นสอดใส่เครื่องมือเข้าไปในโพรงมดลูก และปากมดลูกทั้งสองข้าง
ฉีดสารทึบแสงเข้าไปในลูกโป่งของสายสวนปัสสาวะ เพื่อดูตำแหน่งของกระเพาะปัสสาวะ
นอนท่า lithotomy
ขั้นตอนที่5 การรักษาด้วยแร่ Iridium
ขณะรับการรักษาผู้ป่วยจะไม่รู้สึกเจ็บ แต่ผู้ป่วยควรกลั้นปัสสาวะและนอนนิ่ง ๆ
ใช้เวลาในการรักษาประมาณ10-40นาที
พยาบาลเฝ้าสังเกตอาการทางโทรทัศน์วงจรปิดด้านนอก กระบวนการโหลดแร่จะถูกควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์
เมื่อครบการรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์จะนำแร่ออกจากตัวผู้ป่วย
ขั้นตอนที่1 การเตรียมตัว ประเมินอาการผู้ป่วย โรคประจำตัว ประวัติการแพ้ พร้อมแนะนำการปฏิบัติตัว
ขั้นตอนที่6 การนำเครื่องมือออกและกลับบ้าน
พยาบาลประเมินอาการภายหลังนำเครื่องมือออก
ผู้ป่วยปัสสาวะ เปลี่ยนเสื้อผ้า
เคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกจากห้องใส่แร่ เพื่อนำเครื่องมือที่แพทย์ใส่ในโพรงมดลูกและช่องคลอด ผ้าก๊อซ สายสวนปัสสาวะออก