Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยทางนรีเวช - Coggle Diagram
ปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยทางนรีเวช
อาการสำคัญของผู้ป่วยนรีเวชที่พบบ่อย
อาการปวด: ท้องน้อย หลัง เอว ปวดร้าว เจ็บปวดขณะมีเพศสัมพันธ์
คลำพบก้อน
อาการตกขาว คันปากช่องคลอด หรือมีแผลบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
อาการผิดปกติที่เกี่ยวกับการปัสสาวะ
อาการเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด
มีเลือดออกหลังการมีเพศสัมพันธุ์
มีเลือดออกหลังวัยหมดระดู
อาการผิดปกติเกี่ยวกับการถ่ายอุจจาระ
ความผิดปกติของประจำเดือน
ระยะห่างของรอบประจำเดือนนานมากกว่า 35 วัน
ประจำเดือนมามาก มานานกว่า 7 วัน ระยะห่างของรอบเดือนไม่สม่ำเสมอ
ประจำเดือนมาน้อยกว่าปกติ
ประจำเดือนมาปริมาณปกติ แต่ระยะเวลาอาจมากกว่า 7 วัน และระยะห่างของรอบเดือนไม่สม่ำเสมอ
ประจำเดือนมามาก มานานกว่า 7 วัน หรือระยะห่างของรอบเดือนน้อยกว่า 21 วัน
ประจำเดือนหายไปมากกว่า 3-6 รอบเดือน
ประจำเดือนมามากและมีลิ่มเลือด
อาการไข้ ร่วมกับอาการปวดท้องน้อย หรือมีสารคัดหลั่งผิดปกติทางช่องคลอด
การเตรียมผู้ป่วยเพื่อตรวจวินิจฉัยโรคทางนรีเวช
การเตรียมด้านสังคมและจิตวิญญาณ
ประเมินและสนับสนุนSocial support,
care giver
ประเมินและสนับสุนการเตรียมความพร้อมในเรื่องของความเชื่อทางจิตวิญญาณ
ให้ผู้ใกล้ชิดเข้ามาเป็นเพื่อนในห้องตรวจ
การตัดมดลูก คือ ไม่สามารถมีบุตร ไม่สามารถเป็นแม่ ความบกพร่องทางบทบาท
การเตรียมด้านร่างกายก่อนการตรวจ PV
ไม่ควรมี SI ก่อนตรวจอย่างน้อย 1-3 วัน
ให้ปัสสาวะก่อนตรวจ
งดการสวนล้างช่องคลอด งดการสอดยาทางช่องคลอดภายใน 24 ชั่วโมงก่อนตรวจ
จัดท่าให้เหมาะสมกับการตรวจ ปิดตาผู้ป่วย เปิดเฉพาะบริเวณที่ต้องการตรวจ จัดสิ่งแวดล้อมให้มิดชิด
แจ้งให้ทราบ ควรมารับการตรวจขณะไม่มีประจำเดือน ยกเว้นหากมีประจำเดือนออกมานานหรือมีความผิดปกติ ให้รีบมาตรวจวินิจฉัยโดยเร็ว
การเตรียมด้านจิตใจ: อับอาย กลัว วิตกกังวล
ขณะตรวจ
อยู่เป็นเพื่อนให้การสัมผัสที่นุ่มนวล ปลอบโยนให้กำลังใจ แสดงออกด้วยท่าทีที่เป็นมิตร แนะนำวิธีการผ่อนคลาย เคารพในความเป็นบุคคลของผู้ป่วย
หลังตรวจ
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวหลังตรวจ การสังเกตอาการข้างเคียง อาการที่ต้องมาพบแพทย์ก่อนวันนัด การส่งตรวจเพื่อวินิจฉัยขั้นต่อไป
เคารพการตัดสินใจ เพื่อรับการตรวจวินิจฉัยโรค
ก่อนตรวจ
ให้คำแนะนาเบื้องต้นขั้นตอนในการตรวจ ข้อดีในการตรวจ และข้อเสียหากไม่ปฏิบัติตาม
ชี้แจงวัตถุประสงค์และความจำเป็นในการตรวจ
การตรวจอวัยวะสืบพันธ์ภายในของสตรี (Pelvic examination: PV)
Bimanual examination
Rectovaginal examination
Speculum examination
Papanicolaou smear (Pap smear)
Digital examination
สูติ นรีเวชกรรม
นรีเวชกรรม เด็ก วัยรุ่น วัยเจริญพันธุ์ วัยหมดระดู
สูติกรรม ก่อนสมรส ก่อนตั้งครรภ์ มีบุตรยาก ตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด
การพยาบาลสตรีที่ได้รับการผ่าตัดทางนรีเวช
การเตรียมร่างกายทั่วไป
การเตรียมด้านจิตใจ
สร้างสัมพันธภาพ พูดด้วยท่าทีเป็นมิตร ให้คำแนะนาเกี่ยวกับการผ่าตัด แนะนำให้ผ่อนคลาย สร้างความมั่นใจในการดูแลพยาบาล
การให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวก่อนและหลังการผ่าตัด
early ambulation ambulation การประคองแผลผ่าตัด การพลิกตัวตะแคง การลุกนั่งหลังผ่าตัด
Dietary plan
การหายใจและการไออย่างมีประสิทธิภาพ
วันผ่าตัด
เปลี่ยนเสื้อผ้าเป็นชุดผ่าตัด
บันทึก I&O, Urine
ตรวจป้ายชื่อ สกุลของผู้ป่วยให้ถูกต้อง
ให้ถอดฟันปลอม ของมีค่า อุปกรณ์หรือเครื่องประดับที่เป็นโลหะ
Premedication
Antibiotic : ก่อนไป OR, นาไปOR (ampicillin หรือ cefazolin หรือ cefoxitin)
Anti anxiety
ตรวจสอบใบเซ็นต์ยินยอมการผ่าตัด
Retained foley catheter with urine bag
V/S ก่อนไป OR
ON IV fluid
เตรียมเตียงเพื่อรับผู้ป่วยกลับจาก OR
การให้คำแนะนาก่อนการผ่าตัด
ผลที่คาดว่าจะได้รับหลังการผ่าตัด
การไม่มีประจำเดือน ไม่สามารถมีบุตร การขาดฮอร์โมนเพศ
ข้อดี ข้อเสีย ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากการผ่าตัด
การตกเลือดระหว่างหรือหลังผ่าตัด การติดเชื้อหลังผ่าตัด อวัยวะใกล้เคียงได้รับบาดเจ็บจากการผ่าตัด การค้างของน้าปัสสาวะ
การผ่าตัดที่จะได้รับ : ผ่าตัดอวัยวะใด และส่งผลต่อการดาเนินชีวิตอย่างไร
สภาพทั่วไปหลังการผ่าตัด
มีเสมหะคั่งค้างในทางเดินหายใจส่วนต้น ปวดแผลผ่าตัด ,IV, RC
โรค ระยะเวลา และการดำเนินของโรค
การให้คำแนะนำก่อนการผ่าตัด
เตรียมเตียงเพื่อรับผู้ป่วยกลับจาก OR
เฝ้าระวัง Internal bleeding
การผ่าตัดทางช่องคลอดมักเกิดปัญหาปัสสาวะคั่งค้าง
สอนการสวนปัสสาวะด้วยตนเอง (Self catheterlize)
ดูแลเหมือนผู้ป่วยทั่วไปที่ได้รับการผ่าตัด
ให้คำแนะนำก่อนจำหน่าย
การรักษาความสะอาดร่างกายและอวัยวะสืบพันธ์
การดูแลแผล การตัดไหม
การพักผ่อน
การรับประทานอาหาร และยา
การบริหารร่างกายและการออกกำลังกาย การบริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน Kegel exercise
การงดมี SI 6 สัปดาห์หลังผ่าตัด หรือก่อนมาตรวจตามนัด
อาการที่ต้องมาพบแพทย์ก่อนวัดนัด : ไข้สูง ปวดท้องน้อย แผลบวมอักเสบ มีหนองหรือเลือดที่แผล หรือทางช่องคลอด
การประเมินผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด
การตรจร่างกาย
physical exam, PV
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การซักประวัติ
การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกที่ได้รับรังสีรักษา
การให้คำแนะนำในการดูแลตนเองหลังสอดใส่แร่ iridium
รักษาความสะอาดของร่างกาย ทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธ์ด้วยสบู่อ่อนๆ และน้ำสะอาด ใช้ผ้านุ่ม ๆ ซับให้แห้ง งดอาบน้ำหรือแช่ในแม่น้ำ ลำคลอง น้ำตกและน้ำขังต่างๆ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ ถ้ามีเลือดหรือน้ำออกทางช่องคลอด ควรทำความสะอาดและเปลี่ยนผ้าอนามัยทุก 3 -4ชั่วโมง
ดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อยวันละ 8แก้ว
งดมีเพศสัมพันธ์ระหว่างการรักษา เพื่อป้องกันการอักเสบปากมดลูก
รับประทานอาหารที่สุก สะอาด มีคุณค่าครบทั้ง 5หมู่ ควรงดอาหารรสเผ็ด หรืออาหารที่ทำให้ท้องเสีย
บริหารข้อสะโพกทุกวัน เพื่อป้องกันข้อสะโพกยึดติด
หลังถอดเครื่องมือออกแล้วอาจมีเลือดออกได้บ้าง ควรใส่ผ้าอนามัยไว้ก่อนและควรนั่งพักจนกว่าจะหายอาการมึนงงจากฤทธิ์ยา
สังเกตอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นหลังสอดใส่แร่ เช่น มีเลือดออกมาก หรือ ปวดท้องมาก เป็นต้น ถ้ามีอาการควรปรึกษาแพทย์
มารับการสอดใส่แร่ครบตามแผนการรักษา ถ้ามีปัญหาควรแจ้งเจ้าหน้าที่เพื่อเลื่อนนัดสอดใส่แร่หรือปรึกษาแพทย์ ไม่ควรหยุดไปเองเพราะจะไม่เป็นผลดีต่อการรักษา
การปฏิบัติตัวภายหลังการรักษาครบ
การเหน็บยาช่องคลอด ให้เหน็บยาก่อนนอน เริ่มเหน็บยาหลังการสอดใส่แร่ครบ 1วัน
สามารถมีเพศสัมพันธ์ได้หลังการรักษาครบ 3 เดือน ขณะมีเพศสัมพันธ์ควรใส่ถุงยางอนามัยและใช้ K Y jelly ในการหล่อลื่น
รักษาความสะอาดของร่างกาย ทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธ์ด้วยสบู่อ่อนๆ และน้ำสะอาด ใช้ผ้านุ่มๆซับให้แห้ง งดอาบน้ำหรือแช่ในแม่น้ำ ลำคลอง น้ำตกและน้ำขังต่างๆ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ ถ้ามีเลือดหรือน้ำออกทางช่องคลอด ควรทำความสะอาดและเปลี่ยนผ้าอนามัยทุก 3 4ชั่วโมง
ในผู้ป่วยที่ไม่มีเพศสัมพันธ์ ควรขยายช่องคลอดโดยใช้นิ้วมือที่ตัดเล็บสั้นและล้างมือให้สะอาด สอดนิ้วชี้และนิ้วกลางเข้าช่องคลอดแยกนิ้วทั้งสองเข้า-ออกจากกัน 10ครั้ง ทาขณะอาบน้ำวันละ 1ครั้ง เพื่อป้องกันช่องคลอดตีบตัน เริ่มขยายช่องคลอดภายหลังใส่แร่ครบ 1เดือน
ดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อยวันละ 8แก้ว
บริหารข้อสะโพกทุกวัน เพื่อป้องกันการยึดติด
รับประทานอาหารที่สุก สะอาด มีคุณค่าครบทั้ง 5หมู่ ควรงดอาหารรสเผ็ด หรืออาหารที่ทำให้ท้องเสีย
ใช้โลชั่นทานวดผิวบริเวณท้องน้อยและก้นอย่างสม่ำเสมอ
การเตรียมตัวก่อนสอดใส่แร่
เช้าก่อนมาใส่แร่ ควรรับประทานอาหารอ่อน เช่น โจ๊ก ข้าวต้ม
นาอุปกรณ์และยาที่แพทย์สั่ง ผ้าอนามัย 1-2ชิ้นมาโรงพยาบาล
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจอวัยวะสืบพันธุ์ภายในของสตรี
ให้กำลังใจและอยู่เป็นเพื่อนขณะแพทย์ตรวจ
การมีเลือดออกหลังตรวจ
Conbiopsy , LEEP : vaginal gauze packing เพื่อสังเกตอาการ
เมื่อเอาออกแนะนำให้ใส่ผ้าอนามัยไว้ และสังเกตอาการ
จัดเตรียมท่า Lithotomy position ปิดตา
หลังตรวจเรียบร้อยแล้ว ช่วยเหลือผู้ป่วยลงจากเตรียมตรวจก่อนเสมอ
กั้นม่าน ปิดประตูห้องตรวจ ไม่อนุญาตให้ผู้อื่นเข้าโดยไม่ได้รับอนุญาต
ให้เปลี่ยนเครื่องแต่งกายให้เรียบร้อย ดูแลเก็บของส่วนตัวออกจากห้องตรวจ
ให้ถ่ายปัสสาวะก่อนตรวจ
แนะนำให้นั่งรอหน้าห้องตรวจ เพื่อรับฟังผลการตรวจการรักษา
ให้เปลี่ยนผ้าถุง ถอดกางเกงชั้นในออก
ภายหลังพบแพทย์
แนะนำเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องสังเกตและระวังหลังการตรวจ
ปิดโอกาสให้ซักถาม
เน้นย้ำการมาตรวจตามนัด และการฟังผลการตรวจตามวันและเวลาทีนัดหมาย