Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสื่อสารด้วยภาษาไทย, อาจเรียกว่า เสียงอ่าน คำอ่าน หรือแม้แต่ การอ่าน…
-
อาจเรียกว่า เสียงอ่าน คำอ่าน หรือแม้แต่ การอ่าน หมายถึงวิธีการหรือรูปแบบของคำหรือวลีในภาษาที่ถูกพูดหรือเปล่งเสียงออกมา ถ้ากล่าวถึง "การออกเสียงที่ถูกต้อง" จะหมายถึงการออกเสียงโดยอิงสำเนียงที่เฉพาะเจาะจงอย่างหนึ่ง เช่นสำเนียงกลางมาตรฐาน แบ่งได้หลายประเภทดังนี้
-
-
-
-
-
-
คือ การอ่านโดยนำพยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์ และตัวสะกดมาประสมเป็นคำอ่าน ถือเป็นเครื่องมือการอ่านคำใหม่ ซึ่งต้องให้นักเรียนสังเกตรูปคำพร้อมกับการอ่านการเขียน เมื่อสะกดคำจนจำคำอ่านได้แล้ว ต่อไปก็ไม่ต้องใช้วิธีการสะกดคำนั้น ให้อ่านเป็นคำได้เลย จะทำให้นักเรียนอ่านจับใจความได้และอ่านได้เร็ว
-
-
-
-
-
-
-
-
เกิดจากการผลักดันของลมจากปอด ผ่านออกมาพ้นช่องปาก ช่องจมูก ระหว่างที่ลมผ่านนั้นลมจะถูกสกัดกั้นอย่างเต็มที่ หรือถูกสกัดกั้นเพียงบางส่วน ลมสามารถแทรกผ่านการสกัดกั้นออกมาได้ มีทั้งเสียงก้องและไม่ก้อง พยัญชนะไม่สามารถออกเสียงตามลำพังได้ ต้องอาศัยเสียงสระช่วยจึงจะออกเสียงได้
ภาษาบาลีและสันสกฤตอยู่ในตระกูลภาษาที่มีวิภัตปัจจัย คือเป็นภาษาที่ที่มีคำเดิมเป็นคำธาตุ เมื่อจะใช้คำใดจะต้องนำธาตุไปประกอบกับปัจจัยและวิภัตติ เพื่อเป็นเครื่องหมายบอกพจน์ ลึงค์ บุรุษ กาล มาลา วาจก โครงสร้างของภาษาประกอบด้วย ระบบเสียง หน่วยคำ และระบบโครงสร้างของประโยค ภาษาบาลีและสันสกฤตมีหน่วยเสียง 2 ประเภท คือ หน่วยเสียงสระและหน่วยเสียงพยัญชนะ
เกิดจากการผลักดันของลมจากปอด ผ่านออกมาพ้นช่องปาก ช่องจมูก ระหว่างที่ลมผ่านนั้นลมจะถูกสกัดกั้นอย่างเต็มที่ หรือถูกสกัดกั้นเพียงบางส่วน ลมสามารถแทรกผ่านการสกัดกั้นออกมาได้ มีทั้งเสียงก้องและไม่ก้อง พยัญชนะไม่สามารถออกเสียงตามลำพังได้ ต้องอาศัยเสียงสระช่วยจึงจะออกเสียงได้
สระ แปลว่าออกเสียงได้ตามลำพัง ในภาษาพูด หมายถึง กระแสเสียง หรือ หางเสียงที่มีทำนองสูงต่ำซึ่งเปล่งออกมาตามจังหวะนิยม ในภาษาหนังสือ หมายถึง เครื่องหมายใช้แทนเสียงที่เปล่งออกมาเอง ตามหลักของภาษาถือว่า พยัญชนะจำต้องอาศัยสระจึงจะออกเสียงได้ เพราะฉะนั้น สระในภาษาบาลี จึงมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า " นิสสัย " แปลได้ว่า เป็นที่อาศัยของพยัญชนะ ถ้าพยัญชนะไม่อาศัยสระก็ออกเสียงไม่ได้
การลงเสียงหนัก เบาของคำในภาษาไทย จะมีการลงเสียงหนัก-เบาของคำในระดับคำซึ่งมีมากกว่าสองพยางค์ และการลงเสียงหนัก-เบาของคำ
ในระดับประโยค โดยพิจารณาในแง่ของไวยากรณ์ และเจตนาของการสื่อสาร เมื่อพิจารณาในแง่ของไวยากรณ์การออกเสียงคำภาษาไทยมิได้ออกเสียงเสมอกันทุก พยางค์ กล่าวคือ ถ้าคำพยางค์เดียวอยู่ในประโยค คำบางคำก็อาจไม่ออกเสียงหนัก และถ้าถ้อยคำมีหลายพยางค์ แต่ละพยางค์ก็อาจออกเสียงหนักเบาไม่เท่ากัน นอกจากนี้หน้าที่และความหมายของคำในประโยคก็ทำให้ออกเสียงคำหนักเบาไม่เท่า กัน
พื้นฐานสำคัญในการเรียนภาษาไทย นอกจากให้เด็กเริ่มรู้จักพยัญชนะ สระ การแจกลูกและการสะกดคำแล้ว การผันอักษรและการผันวรรณยุกต์เป็นขั้นตอนต่อไปที่เด็กๆต้องมั่นเรียน หมั่นจำอย่างสม่ำเสมอ เพราะเป็นเรื่องซับซ้อนและรายละเอียดมากที่เด็กจะเข้าใจการผันวรรณยุกต์ในภาษาไทย
คือ คำที่เขียนเหมือนกัน แต่ออกเสียงต่างกัน และมีความหมายต่างกัน การอ่านคำพ้องรูปให้ถูกต้อง ต้องดูข้อความอื่นๆ ประกอบว่าคำพ้องรุปนั้นหมายถึงอะไร อ่านอย่างไร แล้วจึงอ่านให้ถูกต้อง
เครื่องหมาย "ทัณฑฆาต" หรือ "ไม้ทัณฑฆาต" มีหลักเกณฑ์การใช้ดังนี้ ๑. สมัยก่อนใช้เขียนในภาษาบาลีและสันสกฤตเพื่อบอกให้รู้ว่าเป็นตัวสะกด เช่น พุท์โธ ภวัน์ตา ภิก์ขโว สิน์ธู ๒. ใช้สำหรับฆ่าอักษรที่ไม่ต้องการออกเสียง
การทับศัพท์เป็นวิธีการยืมจากภาษาหนึ่ง มาใช้ในอีกภาษาหนึ่งโดยการถ่ายเสียง และถอดอักษร การยืมคำภาษาอังกฤษ โดยวิธีการนี้เป็นวิธีการที่ทำได้ง่าย และปรากฏเด่นชัดที่สุดว่าเป็นคำยืมจากภาษาอังกฤษ คำยืมจากภาษาอังกฤษโดยวิธีการทับศัพท์มีมากมาย คำบางคำราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติศัพท์เป็นคำไทยแล้ว แต่คนไทยนิยมใช้คำทับศัพท์มากกว่า
ในทางภาษาศาสตร์ หมายถึง เสียงแบบหนึ่งในภาษา ออกเสียงให้แตกต่างได้จากลักษณะของอวัยวะออกเสียงในช่องปาก และลักษณะอื่นๆ เช่น การพ่นลม หรือเสียงก้อง ไม่ก้อง นอกจากนี้ยังหมายถึงตัวอักษรที่ใช้แทนเสียงพยัญชนะด้วย ขณะที่ผู้ใช้ภาษาทั่วไปมักจะเข้าใจว่า ‘พยัญชนะ’ คือตัวอักษรแทนเสียงพยัญชนะเพียงอย่างเดียว
๑. การใช้สระ ใ- ( ไม้ม้วน ) ใช้เขียนคำไทยแท้เพียง ๒๐ คำ ดังนี้ ใกล้ ใคร ใคร่ (จิต)ใจ ใช่ ใช้ (สิ่ง)ใด (ข้าง)ใต้ (ด้าน)ใน ใบ ใบ้ ใฝ่ สะใภ้ (เยื่อ)ใย (สด)ใส ใส่ (มอบ)ให้ ใหญ่ ใหม่ (หลง)ใหล ๒. การใช้สระ ไ- ( ไม้มลาย ) ๒) ใช้เขียนคำที่มาจากภาษาอื่นทั้งหมด
วิสรรชนีย์ คือ คำที่มีรูปสระ ะ คำที่ประวิสรรชนีย์ คือ คำที่ออกเสียงสระอะ และมีรูปสระะ กำกับ เวลาอ่านออกเสียงครึ่งเสียง หากรูปสระะ อยู่ที่พยางค์หน้า แต่ออกเสียงเต็มเสียง คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ คือ คำที่ไม่มีรูป ะ กำกับ เวลาอ่านออกเสียง อะ ครึ่งเสียง เช่น คำที่ขึ้นต้นด้วย