Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยเพศหญิง อายุ 77 ปี วันที่เข้ารับการรักษา 17 พฤศจิกายน 2564 :…
ผู้ป่วยเพศหญิง อายุ 77 ปี วันที่เข้ารับการรักษา
17 พฤศจิกายน 2564 :
อาการสำคัญ (Chief complaint) ซึม ไม่รู้สึกตัว ปัสสาวะราด 30 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน 1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล ญาติไปพบผู้ป่วย ซึม ไม่รู้สึกตัว 30 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว เรียกไม่ตื่น ปัสสาวะราด ญาติจึงนำส่งโรงพยาบาล At ER หลัง Push glucose ตื่นดี สับสนเล็กน้อย ไม่รู้สถานที่ ไม่รู้เวลา
Diagnosis : Hypoglycemia with CKD
Hypogiycemia
น้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 50 ml/dL และต่ำลงอย่างรวดเร็ว ทำให้มีการกระตุ้นระบบประสาท
ซิมพาเธติก
DTX แรกรับที่ ER 22 mg%
เสี่ยงต่อภาวะช็อกเนื่องจากมีระดับน้ำตาลในเลือดไม่คงที่
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมิน V/S และ O2 Saturation ของผู้ป่วยทุก 4 ชั่วโมง สังเกตอัตราการหายใจของผู้ป่วยว่ามีภาวะหายใจเหนื่อยหอบ เหงื่อออก หรือมีระดับความรู้สึกตัวลดลงหรือไม่
หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ขับออกทางไต เช่น Pioglitazone เนื่องจากประสิทธิภาพการทำงานของไตลดลงการขับยาอาจไม่มีประสิทธิภาพส่งผลให้ผู้ป่วยเกิดภาวะน้ำตาลต่ำซ้ำได้
ป้องกันการเกิด Volume overload ทั้งนี้ควรมีการจำกัดน้ำดื่มไม่มากกว่าปริมาณปัสสาวะที่ออกและควบคุมปริมาณโซเดียมที่รับประทาน
4.ป้องกันไม่ให้เกิดความผิดปกติอื่นที่พบ เช่น Hypermagnesemia (โดยการจำกัด Magnesium ในอาหาร) ป้องกันการเกิด platelet dysfunction โดยควบคุมไม่ให้ Serum HCT ต่ำกว่า 30%
เกิดอาการกระวนกระวายหงุดหงิด หิว ใจสั่น ชีพจรเต้นเร็ว มือสั่น เหงื่อออก เพลีย เป็นลม
ถ้าระดับน้ำตาลในลือดต่ำลงย่างช้าๆ อาการมักเกิดจากประสาทขาดน้ำตาล อาการคือ ปวดศีรษะ อารมณ์เปลี่ยนแปลง พูดไม่ชัด มองภาพไม่ชัด มึนงง หมดสติ ชัก อาการเหล่านี้จะหายไปเมื่อได้กลูโคสทดแทน
ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว เรียกไม่ตื่น ปัสสาวะราด หลัง Push glucose ตื่นดี สับสนเล็กน้อย ไม่รู้สถานที่ ไม่รู้เวลา
DTX หลัง Plush glucose DTX 167 mg%
Chronic kidney disease (ไตเรื้อรัง)
เป็นภาวะที่มีการเสื่อมสภาพของหน่วยไต
ปริมาณเลือดไปเลี้ยงที่ไตลดลง
อัตราการกรองที่ไตลดลง
(17/11/2564) BUN 26.8 mg/dl
eGFR 42.83 ml/min
เสี่ยงต่อภาวะไตวายเฉียบพลันเนื่องจากการทำงานของไตลดลงจาก
ภาวะไตวายเฉียบพลัน
1 more item...
20/11/2564)
eGFR 43.26 ml/min
(22/11/2564) eGFR 44.14 ml/min
Underlying disease : HT, DM, CKD, Gout รักษาที่โรงพยาบาลดอนตูม
การให้คำแนะนำตามหลัก METHOD
Medication การใช้ยา
รับประทานยาอย่างต่อเนื่องตามเวลาที่กำหนดข้อควรระวังถ้ามีอาการใจสั่น เหงื่อออก ตัวเย็น ต้องหยุดใช้ยา ดื่มน้ำหวาน อาการไม่ดีขึ้นให้รีบมาโรงพยาบาล
Environment/Economicสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
ที่พักอาศัยควรมีอากาศถ่ายเทสะดวก หลีกเลี่ยงชุมชนแออัดและบุคคลที่เป็นโรคติดต่อ ควรเก็บสิ่งของให้เป็นระเบียบเพราะอาจทำให้เกิดอุบัติเหตุและเกิดบาดแผลกับผู้ป่วยได้
Treatment
เป้าหมายการดูแลรักษา และอาการที่ควรมาพบแพทย์
แนะนำญาติ สังเกตอาการผิดปกติ เช่น ผู้ป่วยซึมลง หนาว ใจสั่น หรือมีอาการคลื่นไส้อาเจียน เวียนศีรษะ หรือหากมีอาการผิดปกติอื่นๆให้รีบมาพบแพทย์
Healthการดำเนินชีวิตให้เหมาะสมกับสภาวะสุขภาพ
ออกกำลังกายอย่างเหมาะอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ก่อนออกกำลังกายควรรับประทาน อาหารว่างก่อน ถ้ามีอาการใจสั่น เวียนศีรษะ เหงื่อออกตัวเย็น ควรหยุดพัก
ควรใส่รองเท้าที่นุ่มสบาย ไม่ควรเดินเท้าเปล่า ไม่ควรแช่เท้าในน้ำอุ่น ก่อนนอนควรตรวจเท้าทุกวัน ถ้ามีแผลควรรีบพบแพทย์และตัดเล็บเท้าให้สั้นอยู่เสมอโดยตัดเล็บเป็นแนวตรง
นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ อย่างน้อยวันละ 6 – 8 ชั่วโมง
Outpatient /Referral
การมาตรวจตามนัดและการส่งต่อการรักษา
มาตรวจตามแพทย์นัดทุครั้ง งดน้ำและอาหาร 8 ชั่วโมงก่อนเจาะเลือดตอนเช้า
กรณีที่ยาหมดก่อนวันนัด ควรมาตรวจก่อนวันนัดและแจ้งแพทย์ว่ายาหมดก่อนวันนัด
นำสมุดประจำตัวผู้ป่วยเบาหวานมาด้วยทุกครั้งและลงบันทึก ผลเลือด ความดันโลหิต
Diet
อาหารที่เหมาะสมกับสภาวะ สุขภาพ
รับประทานอาหารครบทั้ง 3 มื้อไม่ควรงดอาหารเพราะการงดอาหารบางมื้อทำให้เกิดภาวะน้ำตาลต่ำและมื้อที่รับประทานต่อไปจะรับประทานอาหารมากเพราะหิวทำให้เกิดภาวะน้ำตาลสูง
อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง ขนมหวานทุกชนิด ผลไม้กวน อาหารเชื่อมแช่อิ่ม น้ำตาล น้ำหวาน น้ำผึ้ง น้ำอัดลม นมหวาน เครื่องดื่มที่มี Alcohol ทุกชนิด เบียร์ ยาดองเหล้า เครื่องดื่มบำรุงกำลัง
เน้นให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารตรงเวลาและเหมาะสมกับโรค
ส่งเสริมความรู้ผู้ป่วยและครอบครัวในการป้องกันภาวะน้ำตาลในเลือดสูง และภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินความพร้อมของผู้ป่วยและญาติ ในการดูแลผู้ป่วยและญาติ ในเรื่องการรับประทานอาหาร รับประทานอาหารให้ตรงเวลา อาหารที่ป้องกันภาวะน้ำตาลในเลือดสูง อาการและการสังเกตภาวะแทรกซ้อน
ประเมินความพร้อมด้านครอบครัว
ให้คำปรึกษาสนับสนุนด้านจิตใจ ในการดูแลผู้ป่วยและญาติ ในเรื่องการรับประทานอาหาร รับประทานอาหารให้ตรงเวลา อาหารที่ป้องกันภาวะน้ำตาลในเลือดสูง อาการและการสังเกตภาวะแทรกซ้อน