Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันแผลกดทับ, นายฟาเดล บูยุโส๊ะ รหัสนักศึกษา 641046037 - Coggle…
การป้องกันแผลกดทับ
การป้องกันการเกิดแผลกดทับ
ประเมินสภาพผิวหนังบริเวณก้นกบและปุ่มกระดูกต่าง ๆ
ใช้โพลียูรีเทนโฟมปิดผิวหนังบริเวณปุ่มกระดูกป้องกันแรงไถลและการเสียดสี
การป้องกันแผลกดทับท่านั่ง
ใช้ผ้ารองยกตัวหรืออุปกรณ์ในการยกตัวเพื่อหลีกเลี่ยงการลากตึง
ท่านอนหงาย ใช้หมอนรองบริเวณศีรษะ ไหล่ และใช้หมอนหรือผ้าหรือเบาะสอดใต้หัวเข่าและน่อง เพื่อยกส้นเท้าลอยจากพื้นผิวเตียง
กรณีเตียงปรับระดับ ให้ตัดท่านอนหงายศีรษะสูง 30 องศา และปรับระดับใต้เข่าสูงขึ้น
จัดท่านอนตะแคงกึ่งหงายเอียง 30 องศา เพื่อหลีกเลี่ยงแรงกดโดยตรงกับปุ่มกระดูกบริเวณไหล่และสะโพก
ใส่ที่นอนลดหรือกระจายแรงกด
ตรวจสอบที่นอนให้มีประสิทธิภาพอยู่เสมอ
ตรวจสอบที่นอนป้องกันผู้ป่วยนอนจมตัวลงในที่นอน
การป้องกันแผลกดทับท่านั่ง
จัดท่านั่งอยู่ท่าหลังตรง
นั่งนานไม่เกิน 1 ชั่วโมง
เปลี่ยนท่านั่งบนรถเข็นด้วยตัวเองทุก 15 - 30 นาที
ดูแลผิวหนังหลังขับถ่ายปัสสาวะหรืออุจจาระให้สะอาด ซับให้แห้ง ไม่อับชื้น
ปัจจัยเสี่ยงต่อแผลกดทับ
ช่วยเหลือตนเองได้น้อยหรือไม่ได้เลย นอนติดเตียงตลอดเวลา
ไม่รู้สึกตัวหรือความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ซึมลง กระสับกระส่าย
รูปร่างผอม ผิวหนังบาง และมองเห็นปุ่มกระดูกชัดเจน
ควบคุมการขับถ่ายอุจจาระหรือปัสสาวะไม่ได้
ตำแหน่งปุ่มกระดูกที่พบแผลกดทับได้บ่อย
ท่านอนหงาย
กระดูกก้นกบ ส้นเท้า ข้อศอก กระดูกสันหลัง สะบัก และท้าย
ท่านอนตะแคง
กระดูกสะโพก ตาตุ่ม เข่า ไหล่ หู
ท่านั่ง
กระดูกก้นกบ หลัง ไหล่ ส้นเท้า ข้อศอก
ความหมาย
การถูกทำลายเฉพาะที่ของผิวหนังหรือเนื้อเยื่อใต้ผิวหนังโดยเฉพาะบริเวณปุ่มกระดูก
นายฟาเดล บูยุโส๊ะ
รหัสนักศึกษา 641046037