Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิทยาการคำนวณ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 - Coggle Diagram
วิทยาการคำนวณ
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
วิทยาการคอมพิมเตอร์
ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการ แก้ปัญหา การอธิบาย การทํางาน การคาดการณ์ ผลลัพธ์จากปัญหาอย่างง่าย
การใช้เหตุผลเชิงตรรกะเป็นการนํากฎเกณฑ์ หรือเงื่อนไข ที่ครอบคลุมทุกกรณีมาใช้พิจารณาในการแก้ปัญหา การอธิบายการทํางาน หรือการคาดการณ์ผลลัพธ์
สถานะเริ่มต้นของการทํางานที่แตกต่างกันจะให้ผลลัพธ์ที่ แตกต่างกัน
ตัวอย่างปัญหา เช่น เกม Sudoku โปรแกรมทํานายตัวเลข โปรแกรมสร้างรูปเรขาคณิตตามค่าข้อมูลเข้า การจัดลําดับ การทํางานบ้านในช่วงวันหยุด จัดวางของในครัว
ไอซีที
ออกแบบและเขียนโปรแกรม ท่ีมีการใช้เหตุผลเชิงตรรกะ อย่างง่าย ตรวจหาข้อผิดพลาด และแก้ไข
การออกแบบโปรแกรมสามารถทําได้โดยเขียนนเป็นข้อความ หรือผังงาน
การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการตรวจสอบเงื่อนไข ที่ครอบคลุมทุกกรณีเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องตรงตาม ความต้องการ
หากมีข้อผิดพลาดให้ตรวจสอบการทํางานทีละคําสั่ง เมื่อพบจุดที่ทําให้ผลลัพธ์ไม่ถูกต้อง ให้ทําการแก้ไขจนกว่า จะได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง
การฝึกตรวจหาข้อผิดพลาดจากโปรแกรมของผู้อื่นจะช่วย พัฒนาทักษะการหาสาเหตุของปัญหาได้ดียิ่งขึ้น
ตัวอย่างโปรแกรม เช่น โปรแกรมตรวจสอบเลขคู่เลขคี่ โปรแกรมรับข้อมูลน้ําหนักหรือส่วนสูงแล้วแสดงผลความ สมส่วนของร่างกาย โปรแกรมส่งให้ตัวละครทําตามเงื่อนไขที่ กําหนด
ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น Scratch, logo
ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาข้อมูล ติดต่อสื่อสารและทํางาน ร่วมกัน ประเมินความ น่าเช่ือถือของข้อมูล
การค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ต และการพจิารณาผลการค้นหา
การติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต เช่น อีเมล บล็อกโปรแกรมสนทนา
การเขียนจดหมาย
(บูรณาการร่วมกับวิชาภาษาไทย)
การใช้อินเทอร์เน็ตในการติดต่อสื่อสารและทํางานร่วมกัน เช่น ใช้นัดหมายในการประชุมกลุ่ม ประชาสัมพันธ์กิจกรรมในห้องเรียนนการแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็น ในการเรียน ภายใต้การ ดูแลของครู
การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล เช่น เปรียบเทียบ ความสอดคล้อง สมบูรณ์ ของข้อมูลจากหลายแหล่ง แหล่งต้นตอของข้อมูล ผู้เขียน วันที่เผยแพร่ข้อมูล
ข้อมูลที่ดีต้องมีการอ้างอิงรายละเอียด ครบทุกด้าน เช่น ข้อดีและข้อเสีย ประโยชน์และโทษ
รวบรวม ประเมิน นําเสนอ ข้อมูลและสารสนเทศ ตามวัตถุประสงค์โดยใช้ ซอฟต์แวร์หรือบริการบน อินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย เพื่อแก้ปัญหาในชีวิต ประจําวัน
การรวบรวมขอ้อมูล ประมวลผล สร้างทางเลือก ประเมินผล จะทําให้ได้สารสนเทศเพื่อใช้ในการแก้ปัญหา หรือการตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ซอฟต์แวร์ หรือบริการอินเทอร์เน็ตที่หลากหลายในการรวบรวม ประมวลผล สร้างทางเลือกประเมินผล นำเสนอ จะช่วยให้แก้ปัญหาทำได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง และแม่นยำ
ตัวอย่างปัญหา เช่น ถ่ายภาพและสํารวจแผนที่ในท้องถิ่น เพื่อนําเสนอแนวทางในการจัดการพื้นที่ว่างให้เกิดประโยชน์ ทําแบบสํารวจความคิดเหน็ ออนไลน์ และวิเคราะห์ข้อมลู นําเสนอข้อมลู โดยการใช้ Blog หรอื web page
ความรู้ดิจิทัล
ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างปลอดภัย มีมารยาท เข้าใจสิทธิและหน้าท่ีของตน เคารพในสิทธิของผู้อื่น แจ้งผู้เก่ียวข้องเมื่อพบข้อมูล หรือบุคคลท่ีไม่เหมาะสม
อันตรายจากการใช้งานและอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต
มารยาทในการติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต
(บูรณาการ กับวิชาที่เกี่ยวข้อง)