Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Postpartum Hemorrhage, บรรณานุกรม
…
Postpartum Hemorrhage
มารดา อายุ 27ปี ชาวไทย น้ำหนัก 58kg. สูง 158cm. มาโรงพยาบาลด้วยอาการสำคัญ : 2ชั่วโมง ก่อนมาโรงพยาบาลเจ็บครรภ์คลอด ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
ระยะที่ 1 การคลอด
เจ็บครรภ์จริง เวลา 02.00น. Interval = >5นาที Duration =35วินาที S= +3 FHS=143 ครั้ง/นาที Cx.= 0 cm. effecment=25% ML station-1
ให้การพยาบาล 1.กระตุ้นให้ปัสสาวะ 2.เปิดเส้นให้Acetar 1,000ml vein drip 100cc/hr. เพื่อกระตุ้นให้เข้าActive phase
เวลา 0ุ6.30น.มารดาสีหน้าเจ็บปวด Interval = 4นาที Duration =36วินาที S= +3 FHS=150 ครั้ง/นาที Cx.=3 cm. effectment=25% ML station-1
เวลา 15.00น. Interval = 4นาที Duration =30วินาที S= +3 FHS=146 ครั้ง/นาที Cx.=3 cm. effecment=85% ML station-1
เวลา 16.30น. Interval = 3นาที Duration =30วินาที S= +2 FHS=140 ครั้ง/นาที Cx.=3 cm. effectment=85% ML station-1
การพยาบาล 1.ได้รับสารน้ำ 5%DN/2 1,000ml+Syntocinon 10unit 20cc/hr. 2. นอนตะแคงซ้ายให้เลือดไหลเวียนเลี้ยงมดลูก
เวลา 18.00น. Interval = 3นาที Duration =30วินาที S= +2 FHS=140 ครั้ง/นาที Cx.=3 cm. effecmtent=85% ML station-1
-
รวมระยะที่1 ของการคลอดตั้งแต่เจ็บครรภ์จริงเวลา 02.00น. พบปัญหาส่วนนำไม่เคลื่อนต่ำลงช่องเชิงกราน ปากมดลูกเปิด3เซนติเมตร รวมเวลา 16ชั่วโมง ตามทฤษฎีในผู้คลอดครรภ์หลังต้องมีระยะเวลาคลอดในระยะที่ 1 อยู่ที่ 4-12hr. หรือน้อยกว่า 14ชั่วโมง ในผู้คลอดรายนี้จึงมีความผิดปกติมีระยะเวลาการคลอดที่ยาวนาน แพทย์จึงให้ย้านเข้าห้องผ่าตัดเพื่อทำการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องเนื่องจากศีรษะทารกไม่สัมพันธ์กับช่องเชิงกราน
Diagnosis: Pregnancy 37 wks. with CPD with Labor pain with Failed induction วิธีการผ่าตัดผ่าตัด Low Tranverse sesarean section with General Anastasia
ได้รับสารน้ำ 5%DN/2 1000ml+syntocinon 20 unit vein drip , clindamycin 900 mg vein drip Blood loss 700cc. urine out put of Foley 10cc.
เวลา 21.26น. คลอดทารกเพศชาย หนัก 2,985g. Apgar score 9,10,10 พบปานทั่วก้น รอยแดงที่ศีรษะและแก้มขวา หลังผ่าตัดมารดานอนสังเกตอาการ เวลา 22.00น. ได้รับ Pethidine 10mg สัญญาณชีพ BP:124/97mmHg. HR:94bpm. RR:18 ครั้ง/นาที SpO2 96% ได้รับ O2 cannula 3LPM เวลา 23.00น. ย้ายมาแผนกมารดาหลังคลอด
ประวัติการคลอด : มารดา G2P1A0L1 7ปีก่อนเคยคลอดบุตรเพศชาย วิธีคลอดทางช่องคลอด น้ำหนัก 3300g. ไม่พบภาวะแทรกซ้อนทั้งมารดาและบุตร ปัจจุบันบุตรคนแรกอายุ 7ปี
-
การพยาบาล
หลังผ่าตัด
-
-
- มีโอกาสเกิดภาวะหลอดเลือดดำอักเสบเนื่องจากมีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อย
-
-
- ให้คำแนะนำการวางแผนครอบครัว
บรรณานุกรม
มณีภรณ์ โสมานุสรณ์. (2554). การพยาบาลสูติศาสตร์ เล่ม 1. (พิมพ์ครั้งที่ 9). นนทบุรี: ยุทธรินทร์ การพิมพ์.
ปิยะนุช ชูโต. (2562). การพยาบาลและการผดุงครรภ์:สตรีในระยะคลอดและหลังคลอด. เชียงใหม่: สมาร์ทโคตรติ้งแอนด์เซอร์วิส จำกัด.
วิไลวรรณ สวัสดิ์พานิชย์. (2558). การพยาบาลมารดาหลังดลอด. (พิมพ์ครั้งที่ 5).ชลบุรี: ศรีศิลปะการพิมพ์.
วีณา จีระแพทย์. (2563). กลวิธีสู่ความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยน้ำนมแม่. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ธรรมดา
นันทพร แสนศิริพันธ์. (2555). การพยาบาลผดุงครรภ์ เล่ม3: สตรีที่มีภาวะแทรกซ้อน. เชียงใหม่:ครองช่างพริ้นติ้ง.
-