Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตกเลือดหลังคลอด Postpartum humorrhage, นายสุริยา กงใจเด็ด เลขที่ 126…
การตกเลือดหลังคลอด Postpartum humorrhage
Sheehan’s Syndrome
เป็นภาวะต่อมพิทูอิตารี่ส่วนหน้า (anterior pituitary gland) ขาดเลือดไปเลี้ยง (pituitary necrosis) ที่เกิดจากการเสียเลือดในปริมาณมากอย่างเฉียบพลันในระยะตั้งครรภ์ระยะคลอด และ/หรือระยะหลังคลอด
ความเสี่ยงต่อการเกิด
มีภาวะการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
เบาหวานตั้งแต่อายุน้อย
รกลอกตัวก่อนกำหนด (Placental abruption)
น้ำคร่ำอุดหลอดเลือด (Amniotic fluid embolism)
อาการและอาการแสดง
ไม่มีน้ำนมไหลหลังคลอด
ไม่มีประจำเดือนหลังคลอด
พูดช้า คิดช้า เซื่องซึม เดินช้า กินจุอ้วน ผมร่วง มีฮอร์โมนไทรอยด์ต่ำ
มีการเสียสมดุลของเกลือแร่ในร่างกายเนื่องจากการทำงานต่อมหมวกไตผิดปกติทำให้การรักษาสมดุลของเกลือแร่ในร่างกายผิดปกติ
มีอาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร เหนื่อยง่าย
ภาวะที่มีเลือดออกหลังจากการคลอดระยะที่ 3 เสร็จสิ้น โดยประเมินจากปริมาณการเสียเลือดตั้งแต่ 500 ml ขึ้นไป สำหรับการคลอดทางช่องคลอด (1,000 ml สำหรับการผ่าตัดคลอด) หรือ 1% ของน้ำหนักตัว/กรัม หรือค่าความเข้มข้นของเลือดลดลง 10% ร่วมกับ อาการ และอาการแสดงภาวะการสูญเสียเลือด
ระดับความรุนแรงของการตกเลือด ตามปริมาณการเสียเลือด ออกเป็น 4 ระยะ
ระดับที่ 1 สูญเสียเลือด 500 – 1,000 ml
ระดับที่ 2 สูญเสียเลือด 1,000 – 1,500 ml
ระดับที่ 3 สูญเสียเลือด 1,500 – 2,000 ml
ระดับที่ 4 สูญเสียเลือด 2,000 – 3,000 ml
การประเมินการตกเลือดหลังคลอดตาม“หลัก 4T
Tone : ความผิดปกติในการหดรัดตัวของมดลูก(Abnormal of uterine contractions)
Tissue : รกค้าง (RetainedProducts of conception)
Trauma : มีบาดแผลฉีกขาดช่องทางคลอด(Genital tract trauma)
Thrombin : ความผิดปกติ ในการแข็งตัวของเลือด (Abnormal of coagulation)
สาเหตุ
ส่วนใหญ่เกิดจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
Early postpartum hemorrhage
Uterine atony มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
Retained placental fragments เศษรกตกค้าง
Lower genital tract lacerations แผลฉีกขาดตามช่องทางคลอด
Uterine rupture มดลูกแตก
Uterine inversion มดลูกปลิ้น
Placenta accreta ภาวะรกเกาะแน่น
การตกเลือดภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
Late postpartum hemorrhage
Infection ติดเชื้อ
Placenta site subinvolution หลอดเลือดที่ตำแหน่งที่รกเกาะไม่หลุดลอกไป
Retained placental fragments เศษรกตกค้าง
Hereditary coagulopathy ภาวะเกร็ดเลือดต่ำ
การตกเลือดในช่วง 24 ชั่วโมงไปจนถึง 6 สัปดาห์หลังคลอด
รกติดแน่น
การฉีกขาดและการบาดเจ็บ (Laceration and trauma)
ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด (coagulation disorders)
ผลกระทบของการตกเลือดหลังคลอด
Hypovolumic shock
Renal failure
Blood group incompatibility
(การไมาเข้ากันของกรุปเลือด)
Pulmonary edema
Sheehan’s syndrome
Low immune
Hysterectomy(การตัดมดลูก)
สูญเสียบทบาทการเป็นมารดา
การพยาบาลเพื่อป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
ระยะหลังคลอด
ให้ Oxytocin ต่ออีก 1-2 ชั่วโมง
ระยะ 2 ชั่วโมงหลังคลอดควรดูแลอย่างใกล้ชิด โดยสังเกต การหดรัดตัวของมดลูก ปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอด วัดสัญญาณชีพทุก 15- 30 นาที
ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
แนะนำมารดาตรวจการหดรัดตัวของมดลูก และสอนวิธีการนวดคลึงมดลูก
ตรวจช่องทางคลอดว่ามี Hematoma หรือไม่
การพยาบาลขณะที่มีการตกเลือดหลังคลอด
ประเมินระดับรู้สึกตัว
Record vital signs, O2 sat ทุก 15 นาที
NPO
นอนราบไม่หนุนหมอน หรือตะแคงหน้าเพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง
ดูแลให้ได้รับ oxygen cannular 3-5 ลิตรต่อนาที หรือ mask with bag 8-10 ลิตรต่อนาที
ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย
Record Intake/output เพื่อประเมินความรุนแรงของภาวะช๊อคและภาวะขาดน้ำ ( ไม่ควรน้อยกว่า 30 ml/ hr)
ดูแลให้สารน้ำ หรือ ส่วนประกอบของเลือด ตามแผนการรักษา
ช่วยแก้ไขและให้การดูแลตามสาเหตุ
การพยาบาลเพื่อฟื้นฟูและส่งเสริมสุขภาพของสตรีหลังคลอด
ดูแลให้ได้รับการพักผ่อนเต็มที่
ดูแลให้รับประทานอาหารเพิ่ม โปรตีน วิตามิน เกลือแร่ และธาตุเหล็ก
ดูแลความสะอาดร่างกาย
ดูแลการรับประทานยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
แนะนำการมาตรวจหลังคลอด และควรเว้นระยะการมีบุตร อย่างน้อย 2 ปี
นายสุริยา กงใจเด็ด เลขที่ 126 61101301131