Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสื่อสารด้วยภาษาไทย - Coggle Diagram
การสื่อสารด้วยภาษาไทย
การออกเสียงคำ
การออกเสียงพยัญชนะ
พยัญชนะไม่ออกเสียงแบบภาษาอังกฤษ
ช/ฌ/ฉ - sh/ch
ข/ค/ฆ - k
ศ/ษ/ส/ซ - s,x,z
การออกเสียงสระ
ออกสระเสียงยาวเป็นสั้นเมื่อไม่เน้นคำ/พยางค์
ออกเสียงยาวแม้จะเป็นเสียงสั้นเมื่อเป็นคำที่ทำหน้าที่สำคัญเช่น ประธาน กริยา กรรม
การออกเสียงวรรณยุกต์
วรรณยุกต์ระดับ
สามัญ เอก ตรี
วรรณยุกต์เปลี่ยนระดับ
โท จัตวา
การลงเสียงหนักเบา
ขึ้นอยู่ความสำคัญ ตำแหน่ง หน้าที่ของคำในประโยค
ส่วนใหญ่จะเป็นประธาน กริยา กรรมที่ออกหนัก
การออกเสียงคำที่ออกมาจากภาษาบาลีสันสกฤต
เดิมออกเสียงสระ อะ ที่ท้ายพยางค์
ออกเสียงสระท้ายตัวสะกด
การออกเสียงคำแผลง
เป็นคำเขมร
การสะกดคำ
การใช้พยัญชนะ
มี
44 รูป
3 พวก
กลาง
ใช้ได้ทั่วไป
เดิม
คำไทยแท้และบาลีสันสกฤตบางคำ
เติม
คำไทยแท้ส่วนใหญ่
ตัวสะกด
ก ม ด ย ว น ง บ
ภาษาบาลีสันสกฤตให้ตัดพยัญชนะตามถ้าเป็นตัวอักษรซ้ำแต่ไม่ต้องถ้ามีสระหรือตัวสะกด
คำที่ประและไม่ประวิสรรชนีย์
เป็นคำไทยแท้ที่ออกเต็มมาตรา ยกเว้นบางคำเช่น ณ ธ ทนาย
ภาษาอื่นที่มีเสียงสระ อะ ให้ใส่รูปต่อท้ายพยางค์ท้ายที่มี อะ
การใช้สระตระกูล ไ- ใ- และรูปที่ใกล้เคียง
การใช้ตัวการันต์
ไม่ออกเสียงพยางค์ที่มีการันต์อยู่เป็นส่วนประกอบ ยกเว้นบางคำ เช่น พระราชสาส์น (พระ ราด ชะ สาน)
เช่น ยนต์ อ่านว่า ยน
คำพ้องเสียง
ต้องรู้ความหมายของคำที่ถูกต้อง
ออกเสียงเหมือนกัน
คำยืมและคำทับศัพท์
ยืมคำมาเพื่อให้การใช้งานสะดวกสะบายมากขึ้น