Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาต้อหินเฉียบพลัน ( Acute Glaucoma), สมาชิกกลุ่ม 7 Pre Acute…
กรณีศึกษาต้อหินเฉียบพลัน ( Acute Glaucoma)
อาการและอาการแสดง
กรณีศึกษา
ผู้ป่วยมีอาการปวดตาข้างขวามาก Pain Score เท่ากับ 9/10 คะแนน ตามองเห็นไม่ชัด ช่องหน้าลูกตาตื้น กระจกตาใส รูม่านตาด้านขวาขยาย 4 mm เลนส์แก้วตาใส มีตาแดง คลื่นไส้ อาเจียน Pupil กลม
ทฤษฎี
ต้อหินชนิดมุมเปิด(POAG)
ไม่มีอาการเด่นชัด ไม่ปวดตา
มีความดันลูกตาสูงขึ้นเรื่อยๆ จึงไม่ทีอาการปวดตา
ต้อหินมุมปิด( PACG)
มีอาการตามัวลง(blurred vision), ปวดตามาก(acute pain),อาจปวดร้าวไปที่
ศีรษะ,กระจกตาบวม (cornea edema) รูม่านตาขยายปานกลาง (4-5 mm)
รูม่านตาขยายปกติ (2mm) มีตาแดง
การรักษา
การผ่าตัด
Trabeculectomy with MMC
การรักษาโดยการใช้ยา
glycerine
เป็นยารับประทาน
อาการข้างเคียง ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน
timolol
เป็นยาหยอดลดการสร้างน้ำเลี้ยงภายในลูกตา สามารถหยอดวันละ 2 ครั้งอาการข้างเคียง ใจสั่น คลื่นไส้ ท้องเดิน หลอดลมหดตัว
ห้ามใช้ในผู้ป่วย asthma
Pilocarpine
เป็นยาหยอดเพื่อหดรูม่านตา สามารถหยอดวันละ 4 ครั้ง
อาการข้างเคียง ปวดศีรษะ แสบตา เคืองตา คลื่นไส้อาเจียน และความดันโลหิตสูง
Diamox
อาการข้างเคียง -อาการชาหรือรู้สึกเป็นเหน็บที่ปลายมือปลายเท้าอาการนี้มักจะไม่รุนแรงและหายเองได้ เมื่อหยุดยาแล้ว
-การรับรสที่ลิ้นจะแปลกไป โดยรู้สึกแปร่งๆเวลาดื่มน้ำอัดลม (Metallic taste) อาการนี้พบได้บ่อย แต่ไม่รุนแรงและหายเองได้
-ปัสสาวะบ่อย เนื่องจากยา diamox มีฤทธิ์ในการขับปัสสาวะ ทำให้บางคนมีอาการปัสสาวะบ่อยขึ้นเวลากินยา ควรดื่มน้ำให้เพียงพอ
-ผื่นขึ้น ลมพิษ แน่นหน้าอกเหล่านี้เป็นอาการของารแพ้ยา ควรหยุดยา
ยาหยอดตา DexaOph
เป็นยาลดการอักเสบสเตียรอยด์ใช้หยอดตา
เพื่อลดการอักเสบบวมแดงของเปลือกตาที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย
การใช้ยาสเตียรอยด์ไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานตามปกติให้ใช้เพียงไม่กี่วัน เมื่ออาการอักเสบดีขึ้น ให้หยุดยาได้เลยหากใช้ติดต่อกันนานเกินไป จะเพิ่มความ
เสี่ยงต่อการติดเชื้อแทรกซ้อนได้
Mitomycin C
เป็นยากลุ่มยาปฏิชีวนะใช้ในการฉีดเข้าสู่เส้นเลือดแต่ก็ต้องระวังไม่ให้ตัวยาไหลออกนอกเส้นเลือดเพราะจะไปสร้างผลกระทบกับเซลล์ที่ไม่ต้องการได้อาการข้างเคียง
ผลข้างเคียงที่พบได้มากที่สุดจากการใช้ยา ยา Mitomycin คือ การเป็นไข้ คลื่นไส้ อาเจียน การกดไขกระดูก
สาเหตุ
กรณีศึกษา
ผู้ป่วยหญิงไทยอายุ 58 ปี พบช่องหน้าม่านตาต้นกว่าปกติ สายตาสั้น
ทฤษฎี
POAG พันธุกรรม
พบอายุ 40 ปี ขึ้นไป
2.PACO
พบในคนที่มีช่องม่านตาตี้นกว่าปกติ
พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย พบในวัยกลางคน
ปัจจัยเสี่ยง
พบในคนอายุ 40 ปี ขึ้นไป , พบในคนผิวดำมากกว่าผิวขาว
สายตาสั้น ,โรคเบาหวาน , โรคความดัน โลหิตสูง
การพยาบาล
-สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย และอธิบายให้ทราบเกี่ยวกับขั้นตอนการผ่าตัด การปฏิบัติตัวทุกขั้นตอน
เมื่อเข้ารับการผ่าตัด และสภาพอาการหลังการผ่าตัด
-เตรียมความพร้อมด้านร่างกายก่อนผ่าตัดด้วยการทำความสะอาดร่างกายทั่วไปและเตรียมผิวหนังเฉพาะที่ ฟอกหน้าด้วยน้ำสบู่อ่อน
-เตรียมจิตใจให้พร้อมกับการผ่าตัด พูดคุย ปลอบโยน ให้กำลังใจเพื่อคลายความ
วิตกกังวล
-ให้ valium 5 mgรับประทานก่อนนอนและ
ก่อนส่งมาห้องผ่าตัด
-ก่อนนอนหยอดตาปฏิชีวนะ polyoph
eyedrop เช้าวันผ่าตัดเช็ดตา หยอดยาปฏิชีวนะ polyoph eyedrop และยาขยายม่านตา 1% mydriacyl eyedrop
สลับกับ 10% phenylnephrine eyedrop
-ตรวจดูตาข้างที่จะผ่าตัดพบว่าผู้ป่วยรายนี้ตาปกติ แต่ม่านตายังขยายไม่เต็มที่ต้องใช้สำลีเล็กชุบยา
ขยายม่านตาแล้วแช่ไว้ในกระพุ้งตาล่าง
-ตรวจสอบความถูกต้อง การระบุตัวบุคคล
โดยสอบถามชื่อ-สกุลของผู้ป่วย,แฟ้มประวัติผลการตรวจ
ต่างๆ การลงนามในใบยินยอมผ่าตัด การระบุตำแหน่งตาข้างที่จะผ่าตัด รวมทั้งเลนส์แก้วตาเทียมตามสิทธิการ
-ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุลื่นลัม พลัดตกเตียง
จากการมองเห็นลดลงโดยการยกไม้กั้นเตียงและล็อคที่กั้น
เตียงนอนตลอดเวลา่วงเคลื่อนย้ายเตียงในห้องผ่าตัดต้อง
ตรวจสอบล็อดคล้องเตียงทุกครั้ง
-ติดตามประเมินสัญญาณชีพพบว่าปกติ ภาวะ
น้ำตาลในเลือดเช้าวันผ่าตัด 80 มิลลิกรัม %
พยาธิสรีรวิทยา
กรณีศึกษา
ผู้ป่วยเป็นต้อหินชนิดมุมปิด เพราะผู้ป่วยมีความดันภายในลูกตาสูงเท่ากับ 36.8 mmHg ที่ตาขวา และ 18 mmHg ที่ตาซ้าย (ค่าปกติ 10-20 mmHg)
ทฤษฎี
ต้อหินชนิดมุมปิด
เมื่อมีการปิดกั้นทางออกของน้ำเลี้ยงภายในลูกตา น้ำเลี้ยงในลูกตาไม่สามารถผ่านรูม่านตาที่ช่องหน้าของลูกตาได้ปกติ น้ำเลี้ยงลูกตาจะพยายามดันออกมาทางด้านหน้า ทำให้ม่านตาโป่งออกมาด้านหน้ามากขึ้น ส่งผลให้ช่องหน้าของลูกตาและมุมม่านตาแคบลง มีการปิดกั้นมากขึ้น จึงเกิดความดันลูกตาสูง ความดันลูกตาสูง ทำให้มีแรงกดภายในลูกตาทั่วไป ส่งผลทำลายประสาทตา เกิดจอประสาทตาขาดเลือด และขั้วประสาทตาฝ่อ ทำให้เกิดลานสายตาแคบลง
วินิจฉัย
พบเยื่อบุตาสีแดง ช่วงหน้าลูกตาตื้น ค่าความดันลูกตาขวา (IOP) 36.8 mmHg รูม่านตากลมขนาด 4 mm
ส่งผลทำให้เกิดการสูญเสียลานสายตาและการมองเห็น
สมาชิกกลุ่ม 7 Pre Acute Glaucoma
1.นางสาวเบญญาภา พนมไพร เลขที่32
2.นางสาวพัชรี ลุงยะ เลขที่37
3.นางสาวสุภัสฌา เกษรน้อย เลขที่63