Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
**ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม (Social Learning Theory) ของแบนดูรา,…
**ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม (Social Learning Theory)
ของแบนดูรา
สรุป
เน้นความสำคัญของการเรียนรู้แบบการสังเกตหรือเลียนแบบจากตัวแบบ ซึ่งอาจจะเป็นได้ทั้งตัวบุคคลจริง ๆ เช่น ครู เพื่อน หรือจากภาพยนตร์โทรทัศน์ การ์ตูน การเรียนรู้โดยการสังเกตประกอบด้วย 2 ขั้น คือ ขั้นการรับมาซึ่งการเรียนรู้เป็นกระบวนการทางพุทธิปัญญา และขั้นการกระทำ ตัวแบบที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของบุคคลมีทั้งตัวแบบในชีวิตจริงและตัวแบบที่เป็นสัญลักษณ์
ขั้นตอนของการเรียนรู้โดยการสังเกต
1.ขั้นให้ความสนใจ (Attention Phase)
3.ขั้นปฏิบัติ (Reproduction Phase)
4.ขั้นจูงใจ (Motivation Phase)
ขั้นจำ (Retention Phase)
ประวัติความเป็นมา
นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน
พัฒนาทฤษฎีนี้ขึ้นจากการศึกษาของตนเอง เดิมใช้ชื่อว่า "ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม" (Social Learning Theory
ต่อมาเขาได้เปลี่ยนชื่อทฤษฎีเพื่อความเหมาะสมเป็น "ทฤษฎีปัญญาสังคม"
เน้นหลักการเรียนรู้โดยการสังเกต (Observational Learning)
บุคคลจะรับรู้สมรรถนะของตนได้มากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับแหล่งที่มา
ประสบการณ์ที่ประสบความสำเร็จ ( Mastery experience )
การได้เห็นประสบการณ์ของผู้อื่น ( vicarious experience )
:check: ตัวแบบที่มีชีวิต ( Live model )
ตัวแบบสัญลักษณ์ ( Symbol model ) :check:
การใช้คำพูดชักจูง (Verbal persuasion)
การกระตุ้นอารมณ์และสรีรวิทยา
(Emotionalarousal)
ทฤษฎีปัญญาสังคมของ Bandura จึงได้เน้นแนวคิด 3 ประการ
แนวคิดการเรียนรู้โดยการสังเกต
(Observational Learning)
:check:
แนวคิดการรับรู้ความสมรรถนะตนเอง :check:
(Self - efficacy)
แนวคิดการกำกับตนเอง (Self - regulation) :check:
แนวคิดและทฤษฎี
บนดูรามีความเชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ส่วนมากเป็นการเรียนรู้โดยการสังเกตหรือการเลียนแบบ เนื่องจากมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบ ๆ ตัวอยู่เสมอ ผู้เรียนต้องสามารถที่จะประเมินได้ว่าตนเลียนแบบได้ดีหรือไม่ดีอย่างไร และจะต้องควบคุมพฤติกรรมของตนเองได้ด้วย บันดูรา จึงสรุปว่า การเรียนรู้โดยการสังเกตจึงเป็นกระบวนการทางการรู้คิดหรือพุทธิปัญญา
หลักพื้นฐานของทฤษฎีปัญญาสังคม
กระบวนการเรียนรู้ต้องอาศัยทั้งกระบวนการทางปัญญา และทักษะการตัดสินใจของผู้เรียน
องค์ประกอบของพฤติกรรมของบุคคลทีเกิดขึ้น ด้วยปัจจัยสำคัญ 3 ด้าน :fire:
เงื่อนไขเชิงพฤติกรรม ( Behavior condition = B
ความเชื่อและการรับรู้ตนเอง (inter Personal factor = P )
เงื่อนไขเชิงสภาพแวดล้อม
( environment condition = E)
ผลของการเรียนรู้กับการแสดงออกอาจจะแตกต่างกัน สิ่งที่เรียนรู้แล้วอาจไม่มีการแสดงออกก็ได้ เช่น ผลของการกระทำ (Consequence) ด้านบวก เมื่อเรียนรู้แล้วจะเกิดการแสดงพฤติกรรมเลียนแบบ แต่ผลการกระทำด้านลบ อาจมีการเรียนรู้แต่ไม่มีการเลียนแบบ
โครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสามองค์ประกอบ