Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 3 การพยาบาลมารดาที่มีภาวะตกเลือดหลังคลอด - Coggle Diagram
กรณีศึกษาที่ 3
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะตกเลือดหลังคลอด
มารดา อายุ 35 ปี G6P3A2 GA 38+4 สัปดาห์ by U/S เคยขูดมดลูก 1 ครั้ง มีโรค ประจำตัวเป็นโรคหอบหืด
สาเหตุการตกเลือดหลังคลอด
4 สาเหตุหลัก (4Ts)
1.Tone = การหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี
Fetal macrosomia
(น้ำหนักแรกคลอด 3800 g.)
กล้ามเนื้อมดลูกยืดขยายมากกว่าปกติ
การหดกลับของมดลูกไม่ดี
การพยาบาล
ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่างโดยกระตุ้นให้ปัสสาวะระวังไม่ให้กระเพาะปัสสาวะเต็มเพราะจะขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูกและทำให้ตกเลือดหลังคลอดได้โดยมารดาควรปัสสาวะภายใน 6 ชั่วโมงหลังคลอดหากพบว่าเกิดภาวะกระเพาะปัสสาวะเต็มและมารดาไม่สามารถขับถ่ายออกได้เองสามารถสวนปัสสาวะได้
แนะนำมารดาหลังคลอดตลอดจนญาตผู้ดูแลให้ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกหากมดลูกนุ่มต้องสอนวิธีคลึงมดลูกอย่างนุ่มนวลทำจนกระทั่งมดลูกหดรัดตัวแข็งจึงหยุดคลึง แต่ต้องระวังไม่ต้องกลึงตลอดเวลาและไม่บีบเค้นจนทำให้มดลูก
ในระยะ 2 ชั่วโมงแรกหลังคลอดควรดูแลอย่างใกล้ชิดเพราะเป็นระยะที่เกิดการตกเลือดหลังคลอดระยะแรกได้มากที่สุดโดยสังเกตการหดรัดตัวของมดลูกปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอดอาการทั่วไปและวัดสัญญาณชีพทุก 15-30 นาที
ในรายที่ให้ Oxytocin เมื่อทารกคลอดแล้วควรให้ต่อไปอย่างน้อย 1 ชั่วโมง
ให้สารน้ำ 0.9% NSS 1,000 ml + Syntocinon 20 unit v drip 120 ml/hr
เปิดเส้นใหม่เพื่อให้สารน้ำชดเชยจากการสูญเสียเลือด
1 more item...
ภาวะแทรกซ้อนจาการให้สารน้ำ
1 more item...
Syntocinon 20 unit v drip
( oxytocin)
6 more items...
ให้ Methergine 1 amp V stat
ช่วยให้มดลูกบีบโดยการหดเกร็งที่แรงขึ้น จึงเหมาะสมสำหรับการตกเลือดหลังคลอดที่มดลูกไม่หดตัว ยานี้ออกฤทธิ์ได้เร็วและนาน แต่อาจทำให้ความดันโลหิตสูงอย่างรุนแรงและกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
การฉีดเข้ากล้าม (I.M. ) 0.2mg. ถ้าจำเป็นให้ยาซ้ำได้ทุก 2-4 ชั่วโมง แต่ไม่ควรให้ยาเกิน 5 ครั้งส่วน I.V: dose เหมือนกับ I.M. แต่ต้องระมัดระวังความดันเลือดที่อาจะสูงผิดปกติเฉียบพลันและการทำลายหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมอง (cerebrovascular ccidents)
อาการข้างเคียง
1 more item...
การให้ยา Methergine ในเคสนี้มีความเหมาะสม เนื่องจาก ยานี้ห้ามให้ในผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูงมากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 mmHg. ในเคสนี้มีความดันโลหิต 90/60 mmHg
กลไกการออกฤทธิ์ : เพิ่ม tone rate และ amplitude ของการหตรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก ทำให้มดลูกบีบรัดตัวโดยไม่คลายตัวเป็นเวลานานช่วยลดระยะที่สามของการคลอดและลดจำนวนการเสียเลือด
หลอดเลือดบริเวณที่รกเกาะหดรัดตัวไม่ดี
เลือดไหลไม่หยุด
1 more item...
คลำพบท้องน้อยเหนือหัวหน่าวโป่งตึง
Bladder full
ผ่านการคลอดมากกว่า 1 ครั้ง
เคยขูดมดลูก 1 ครั้ง
2.Trauma = การบาดเจ็บของช่องทางคลอด
เกิดการฉีกขาดของฝีเย็บ
(มีแผลฝีเย็บระดับ 2nd degree tear)
การพยาบาล
ตรวจการบวมเลือดของอวัยวะสืบพันธุ์หลังคลอด (hematoma) ปกติบริเวณบวมเลือดจะแข็งเวลาสัมผัสจะรู้สึกเจ็บปวดมากการป้องกันการเลือดคั่งใต้ผิวหนังโดยประคบความเย็นบริเวณฝีเย็บในชั่วโมงแรกหลังคลอดรวมถึงการประเมินแผลฝีเย็บตามอาการแสดงที่สำคัญ 5 ประการที่เรียกว่าประเมินตาม“ REEDA”
ประเมินเลือดที่ออกเป็นระยะสามารถประเมินได้โดยการชั่งน้ำหนักเปรียบเทียบก่อนหลังใส่ผ้าอนามัยซึ่งมีความแม่นยำที่สุด แต่อาจใช้เวลานานทั้งนี้ควรคำนึงว่าความสามารถในการซึมซับเลือดของผ้าอนามัยแต่ละยี่ฮ้อไม่เท่ากันดังนั้นในกรณีที่โรงพยาบาลมีบริการผ้าอนามัยหลังคลอดพยาบาลควรทดลองโดยการเทน้ำ (แทนเลือดจริง) ใส่ผ้าอนามัยดูก่อนว่าความสามารถในการจุน้ำได้เท่าไหร่หรืออาจการคาดคะเนโดยใช้สายตาซึ่งเป็นวิธีที่รวดเร็ว
เส้นเลือดได้รับบาดเจ็บ
tissue รกและชิ้นส่วนของรก
รกลอกตัวได้ไม่สมบูรณ์
(รกด้านมารดาออกมาทางช่องคลอด
แสดงถึงการมีรกค้าง)
สาเหตุเพิ่มเติม
การซักประวัติ
ระยะก่อนคลอด
1) เคยผ่าตัดคลอด
2) เคยตกเลือดหลังคอลดมาก่อน
3) BMI > 35 kg/m2
4) มดลูกขนาดใหญ่
5) มีบุตรมากกว่า 3 คน
6) มีภาวะรกเกาะต่ำ
7) รกฝังแน่น
8) severe preeclamsia
9) ภาวะซีด
ระยะคลอด
1) ได้รับการชักนําการคลอด
2) ได้รับ oxytocin นาน
3) ระยะของการคลอดยาวนาน
4)มีภาวะติดเชื้อในถุงน้ําคร่ำ
5)คลอดโดยใช้สูติศาสตร์หัตถการ
6)คลอดเร็วเกินไป
การมีเลือดออกผิดปกติตามร่างกาย
ภาวะโลหิตจาง
โรคเลือด
ครรภ์แฝด
แฝดน้ํา
ทารกตัวโต
การคลอดยาก
การแท้ง
การขูดมดลูก
การผ่าตัดมดลูก
การตกเลือดในครรภ์ก่อน
ตรวจร่างกาย
1) คาดคะเนปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอดภายหลังทารกคลอด
2) สังเกตอาการแสดงของการเสียเลือด ได้แก่ ซีด ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตต่ำ เหงื่อออกตัวเย็น
ใจสั่น กระหายน้ํา มีอาการหาวเนื่องจากเลือดไปเลี้ยงสมองน้อยลง ถ้ามีอาการรุนแรงอาจช็อกและหมดสติ
3) ตรวจการหดรัดตัวของมดลูกโดยใช้มือคลําทางหน้าท้อง การฉีกขาดของช่องคลอด และตรวจรกหรือ
ใช้มือตรวจในโพรงมดลูกเพื่อชิ้นส่วนของรกที่อาจค้างอยู่
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติ
โดยการตรวจเลือดเพื่อหาความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือด และตรวจหาภาวะโลหิตจาง
CBC
thrombin time
partial thromboplastin time
platelets count
fibrinogen concentration