Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 3
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะตกเลือดหลังคลอด,…
-
แผนการรักษาเพิ่มเติ่ม
-
งานวิจัย
Management of Postpartum HemorrhageWith a Mini-Sponge Tamponade Device(การจัดการภาวะตกเลือดหลังคลอดด้วยอุปกรณ์บีบฟองน้ำขนาดเล็ก)
มหาวิทยาลัยโรงพยาบาลในแซมเบียนได้จัดตั้งวิจัยโดยคุณสมบัติผู้คลอดมีอายุ 16 ปีขึ้นไปโดยไม่มีโรคร้ายแรงและการตั้งครรภ์ที่ไม่ซับซ้อนจำนวน 100 คน
-
-
-
มารดาอายุ 35 ปี
(elderly pregnancy) คือ สตรีตั้งครรภ์อายุเท่ากับหรือมากกว่า 35 ปี ซึ่งปกติสตรีวัยเจริญพันธุ์จะอยู่ที่ช่วงอายุ 20-34 ปี ทำให้การหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี
-
-
-
-
-
-
ทารกน้ำหนัก 3,800 gm.
น้ําหนักทารกแรกเกิดปกติของทารกไทยประมาณ 2,500-3,900 กรัม ในทารกรายในนำหนักอยู่ในเกณฑ์ซึ่งหากทารกมีขนาดตัวใหญ่อาจจะทำให้เกิดการฉีกขาดขอช่อทาคลอด หรือมดลูกที่ขยายใหญ่ทำให้พื้นที่ในการเสียเลือดเพิ่มขึ้น
-
-
-
เป็นสาเหตุที่เกี่ยวข้องกับการฉีกขาดของช่องทางคลอด เช่นการฉีกขาดของปากมดลูก ช่องคลอด แผลฝีเย็บ รวมถึงการมีเลือดออกใต้ชั้นกล้ามเนื้อบริเวณช่องทางคลอด
-
-
เป็นสาเหตุที่เกี่ยวข้องกับการแข็งตัวของเลือด ผิดปกติที่เกิดจากการมีเกล็ดเลือดต่ำ ทำให้การแข็งตัวของเลือดผิกปกติ
-
-
รังสินี พูลเพิ่มและพัชรินทร์ จันทร์อาสา. (2561). ชีแฮน ซินโดรม (Sheehan’s Syndrome) กับการตกเลือดหลังคลอด. วารสารทหารบก,19(1), 37-46
-
วรรณี แก้วคงธรรม. (2020). ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลทางคลินิกเพื่อป้องกันการตกเลือดหลังคลอดระยะแรก โรงพยาบาลพัทลุง Effectiveness of using Clinical nursing practice Guideline for Preventing in Early Postpartum Hemorrhage in Phatthalung Hospital. วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2(3), 37- 47.
Rodriguez Maria. Bullard Marry. Jensen Jeffrey. Gregory Kenton. Vwalika Bellington. Barofsky Andrew. and others. (2020). Management of Postpartum Hemorrhage
With a Mini-Sponge Tamponade Device. OBSTETRICS & GYNECOLOGY, 13(5), 876-881.
ปฤษดา ผลประสาร. (2564). การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะที่ 1-4 ของการคลอด.เอกสารประกอบการสอนรายวิชา NUR60-343 การพยาบาลมารดาและทารก
-